Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12975
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ | th_TH |
dc.contributor.author | จันทนา สิทธิพันธ์, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-03T04:14:16Z | - |
dc.date.available | 2025-01-03T04:14:16Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12975 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถอดบทเรียนการบริหารจัดการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดมงคลวราราม อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต และ 2) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดมงคลวราราม กรณีศึกษา คือ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดมงคลวราราม อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารศูนย์ คณะกรรมการบริหารศูนย์ ครู นักเรียน ผู้นำชุมชน และผู้ปกครอง จำนวน 25 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง แนวคำถามการสนทนากลุ่ม และแบบบันทึกเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า 1) ศูนย์ได้บริหารจัดการศึกษาจนประสบความสำเร็จ ประกอบด้วย (1) ด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ มีการเตรียมตัวรับสถานการณ์โลกในศตวรรษที่ 21 บริบทชุมชนเอื้อต่อการบริหารจัดการ นโยบายและกฎระเบียบมีความชัดเจน ภาครัฐและเครือข่ายส่งเสริมและสนับสนุน และการกำกับติดตามคุณภาพการจัดการศึกษามีมาตรฐาน (2) ด้านปัจจัยนำเข้า ได้แก่ โครงสร้างการบริหารองค์การมีความชัดเจน ภาวะผู้นำของผู้บริหารมีความเข้มแข็ง คณะกรรมการมีวิสัยทัศน์ ครูมีคุณสมบัติที่เหมาะสม หลักสูตรของศูนย์มีมาตรฐาน และสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ (3) ด้านกระบวนการดำเนินการ ได้แก่ การกำหนดมาตรฐานศูนย์มีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผลสนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชน การนิเทศกำกับติดตามการเรียนการสอนเน้นการมีส่วนร่วม และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนมีความเข้มแข็ง และ (4) ด้านผลผลิตของการบริหารจัดการ ได้แก่ คุณภาพผู้เรียนได้มาตรฐาน คุณภาพการสอนของครูสอดคล้องตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และความสัมพันธ์ระหว่างศูนย์กับผู้ปกครองและชุมชนมีความเข้มแข็ง และ 2) ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการศูนย์ ได้แก่ (1) ควรพัฒนาโครงสร้างบริหารให้มีความยืดหยุ่นยิ่งขึ้น (2) ควรเน้นภาวะผู้นำแบบบูรณาการ (3) ควรพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง (4) ควรระดมทรัพยากรการศึกษาให้เพียงพอและเหมาะสม (5) ควรสนับสนุนให้ครูนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และ (6) ควรเสริมสร้างความสัมพันธ์กับเครือข่ายของศูนย์อย่างทั่วถึง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | พุทธศาสนา--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | การบริหารจัดการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ที่ประสบความสำเร็จ : กรณีศึกษาศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดมงคลวราราม อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต | th_TH |
dc.title.alternative | Successful management of a Buddhist Sunday Center: a case study of the Buddhist Sunday Center at Wat Mongkhon Wararam, Thalang District, Phuket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study lessons learned in the management of the Buddhist Sunday Center at Wat Mongkhon Wararam, Thalang district, Phuket province; and 2) to study suggestions for management guidelines of the Buddhist Sunday Center at Wat Mongkhon Wararam.The case study was the Buddhist Sunday Center at Wat Mongkhon Wararam, Thalang district, Phuket province. The 25 key informants consisted of center director, center executive committees, teachers, students, community leaders, and parents. The research instruments were a semi-structured interview form, a focus group discussion guideline, and a document record form. The data were analyzed with the use of content analysis and examined the quality with data triangulation.The research findings revealed that 1) the successful management of the center consisted of four aspects as follows: (1)that of environment, including preparation for the global situation in the 21st century, the community context conducive to management, clear policies and regulations, government sectors and networks to promote and support, and the standardization of education management quality monitoring; (2) that of input factors, including clear organization management structure, strong leadership of the director, clear vision of the center executive committees, qualified teachers, standardized educational curriculum, and environment conducive to learning; (3) that of operational process, including establishing effective center standards, teaching and learning management and evaluation related to the needs of learners and communities, supervision and monitoring of teaching and learning emphasizing participation, and strong involvement of parent and community; and (4) that of output factors, including quality of learners standardized, quality of teachers that consistent with the professional ethics of teachers, and strong relationship among the center, parents, and communities; and 2) suggestions for management guidelines of the center were as the following: (1) should develop the organization management to be more flexible; (2) should focus on the integrated leadership; (3) should develop students to have life skills that related to changes; (4)should mobilize education resources sufficiently and appropriately; (5) should encourage teachers to utilize information technology in teaching and learning effectively; and (6) should strengthen relationship thoroughly with the center networks. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | 18.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License