Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12982
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorนลกช เกตุพลสังข์, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-03T07:57:00Z-
dc.date.available2025-01-03T07:57:00Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12982en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา 2) ความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษากับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา และ 4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง จำนวน 274 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความเป็นองค์กรดิจิทัล มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษาประกอบด้วย 5 ปัจจัย ได้แก่ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร บุคลากร งบประมาณ กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล และ เครือข่ายการบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87, .88, .87, .91 และ .93 ตามลำดับ และ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล และด้านเครือข่ายการบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล 2) ความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษาในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านวัฒนธรรมองค์กรทางดิจิทัล ด้านทักษะทางดิจิทัล ด้านกระบวนการปฏิบัติงานในระบบดิจิทัล ด้านโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรทางเทคโนโลยีดิจิทัล และด้านวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ทางดิจิทัล 3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษาในภาพรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษาในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 81 และ 4) ทั้ง 4 ปัจจัย ได้แก่ เครือข่ายการบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล ภาวะผู้นำของผู้บริหาร กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล และงบประมาณ ร่วมกันทำนายความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา ได้ร้อยละ 66.90 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษากับเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ--การจัดการth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุงth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the being of digital organization of schools under the Secondary Educational Service Area Office Phattalungen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) factors related to the being of digital organization of schools; 2) the being of digital organization of schools; 3) the relationship between factors related to the being of digital organization of schools and the being of digital organization of schools; and 4) factors affecting the being of digital organization of schools under the Secondary Educational Service Area Office Phattalung.The sample consisted of 274 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Phattalung, obtained by the Krejcie and Morgan and stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire dealing with the being digital organization questionnaire with reliability coefficients of .98 and the factors related the being of digital organization of school, consisting of 5 factors: leadership, personnel, budget, laws and policy related to digital technology, and the digital technology management network, with reliability coefficients of .87, .88, .87, .91 and .93, respectively. Statistics used in data analysis was frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The research findings were as follows: 1) the overall and specific aspects of factors related to the being of digital organization of schools were at a high level which ranked in descending order as follows: leadership, personnel, budget, laws and policy related to digital technology, and digital technology management network; 2) the overall and specific aspects of the being of digital organization of schools were at a high level which ranked in descending order as follows: digital organizational culture, digital skills, digital operational processes, infrastructure and digital technology resources, and digital vision and strategies; 3) the factors related to digital organization of schools correlated positively with the being of digital organization of schools at a high level with the correlation coefficient of . 81, which was significant at the .01 level; and 4) leadership, budget, laws and policy related to digital technology, and digital technology management network were affecting the being of digital organization of schools, these factors could be combined to predict the being of digital organization of schools by 66.90 percent with statistical significance at .01en_US
dc.contributor.coadvisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons