Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHANIKARN BUASRIen
dc.contributorชนิกานต์ บัวศรีth
dc.contributor.advisorThitikorn Yawichai Charueksilen
dc.contributor.advisorฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:46Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:46Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued18/10/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13116-
dc.description.abstract5.1.4 การประเมินผล หมายถึง การที่ผู้นิเทศการศึกษาและครูผู้รับการนิเทศร่วมกันสะท้อนกระบวนการนิเทศผ่านการประชุมหลังการสังเกตการสอนเพื่อสะท้อนผลการใช้แผนการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำข้อมูลไปปรับปรุงพัฒนาแผนการนิเทศการเรียนการสอนตามวงจรการนิเทศในวงรอบต่อไปen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการดำเนินการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษา และ 2) เปรียบเทียบสภาพการดำเนินการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา                กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยใช้ตารางของเครจซีและมอร์แกน จำนวน 357 คน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว                ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) สภาพการดำเนินการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การประเมินผลการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การนำแผนการนิเทศไปใช้  และการหาความต้องการจำเป็นในการนิเทศ และ 2) ผลการเปรียบเทียบสภาพโดยรวมของการดำเนินงานนิเทศการศึกษาของสถานศึกษาที่จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ระหว่างสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่มีสภาพการดำเนินงานนิเทศการศึกษาที่สูงกว่าสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษอย่างมีนัยสำคัญth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการดำเนินการนิเทศการศึกษา  สถานศึกษา  มัธยมศึกษาth
dc.subjectEducational supervision operationen
dc.subjectSchoolen
dc.subjectSecondary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleConditions on Educational Supervision Operations of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1en
dc.titleสภาพการดำเนินการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorThitikorn Yawichai Charueksilen
dc.contributor.coadvisorฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2622300784.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.