Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมานth_TH
dc.contributor.authorพรพิมล พิรัตน์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:54Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:54Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13137en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO MODEL                กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน อบจ.บ้านตลาดเหนือ (วันครู 2502) ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 33 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 ตามรูปแบบ MACRO MODEL จำนวน 5 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมเป็น 10 ชั่วโมง และ 2) แบบทดสอบความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที               ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11  ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO MODEL หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแต่งคำประพันธ์th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO MODEL ที่มีต่อความสามารถ ในการแต่งคำประพันธ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียน อบจ.บ้านตลาดเหนือ (วันครู 2502)  จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeEffect of learning management using MACRO MODEL on the ability to compose poetry of Grade 5 Students at PPAO. Bantaladnua (Wankru 2502) School in Phuket Provinceen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to compare composing poetry ability of kapyani 11 of grade 5 students before and after using MACRO MODEL learning management.               The research sample consisted of 33 grade 5 students studying at PPAO. Bantaladnua (Wankru 2502) School in Phuket Province in the second semester of 2023 academic years, by using cluster random sampling. The research instruments were 1) 5 lesson plans of kapyani 11 contents based on MACRO MODEL with 10 of total teaching hours, and 2) a kapyani 11 composing ability test. Statistics employed for data analysis were mean, standard deviation, and t-test.               The results showed that 1) kapyani 11 composing ability of grade 5 students after learning by using MACRO MODEL learning management was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2632100489.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.