Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13142
Title: | The Effects of Learning Management Using Four-Blocks Approach on Thai Reading Comprehension Ability of Grade 6 Students at Bumrungpong-Upatham School in the Mukdahan Primary Educational Service Area Office ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบโฟร์บล็อก ที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทยของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบำรุงพงศ์อุปถัมภ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร |
Authors: | TIPAWAN LABGOSA ทิพวรรณ ลับโกษา Apirak Anaman อภิรักษ์ อนะมาน Sukhothai Thammathirat Open University Apirak Anaman อภิรักษ์ อนะมาน [email protected] [email protected] |
Keywords: | เทคนิคการสอนแบบโฟร์บล็อก การอ่านจับใจความภาษาไทย ประถมศึกษา Four-Block teaching technique Thai reading comprehension Primary education |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | The purpose of this research was to compare Thai reading comprehension ability of grade 6 students at Bumrungpong-Upatham School in the Mukdahan Primary Educational Service Area Office before and after learning through the Four-Blocks approach. The research sample consisted of 24 grade 6 students at Bumrungpong- Upatham in the first semester of academic year 2024 obtained through cluster random sampling. The research instruments were 1) lesson plans based on the Four-Blocks approach 2) a Thai reading comprehension ability test. Statistics employed for data analysis were mean, standard deviation, and t-test. The results of research showed that Thai reading comprehension ability of grade 6 students after learning through the Four-Blocks approach was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the 0.05 level of statistical significance. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบำรุงพงศ์อุปถัมภ์ ระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบโฟร์บล็อก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบำรุงพงศ์อุปถัมภ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 จำนวน 24 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบโฟร์บล็อก และ 2) แบบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนแบบโฟร์บล็อกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13142 |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2632101081.pdf | 3.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.