กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13173
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor | WALAIPHON PRUESARAT | en |
dc.contributor | วลัยพร พฤษารัตน์ | th |
dc.contributor.advisor | Tweesak Chindanurak | en |
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:10Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:10Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 24/5/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13173 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were to (1) compare computational thinking ability after the flipped classroom instructions with problem-based learning of first-year Advanced Vocational Diploma students in Civil Engineering with the criterion of 75 percent; (2) compare problem solving ability after the flipped classroom instructions with problem-based learning of first-year Advanced Vocational Diploma students in Civil Engineering with a criterion of 75 percent; and (3) study the correlation between computational thinking ability and problem-solving ability.The sample of first-year students of the Advanced Vocational Certificate, Civil Engineering Department, Nakhon Si Thammarat Technical College, 1 classroom, totaling 40 people, using cluster random sampling. The tools used in the research include: (1) learning management plans using the flipped classroom instructions with problem-based learning activities management in the Momentum; total of 5 learning plans, total 20 hours. (2) a computational thinking ability test; (3) a problem solving ability test. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, t-test, and Pearson correlation coefficient.The research findings revealed that (1) computational thinking ability score after learning through flipped classroom with problem-based learning was higher than the 75 percent criterian at the .05 level of statistical significance; (2) problem-solving ability score after learning through flipped classroom with problem-based learning was higher than the 75 percent criterian at the .05 level of statistical significance; and (3) the correlation between computational thinking ability and problem-solving ability of the students was positive with the correlation coefficient of 0.36. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงคำนวณหลังการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐานของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สาขาโยธากับเกณฑ์ร้อยละ 75 2) เปรียบเทียความสามารถในการแก้ปัญหาหลังการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาโยธา กับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการคิดเชิงคำนวณและความสามารถในการแก้ปัญหากลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงปีที่ 1 สาขาโยธา วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช จำนวน 1 ห้อง รวมทั้งสิ้น 40 คน โดยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง โมเมนตัม จำนวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ รวม 20 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบความสามารถในการคิดเชิงคำนวณ และ 3) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการวิจัยปรากฏว่า1)ความสามารถในการคิดเชิงคำนวณหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐาน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการแก้ปัญหา หลังจากได้รับการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐาน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความสามารถในการคิดเชิงคำนวณ กับความสามารถในการแก้ปัญหามีความสัมพันธ์กันในทางบวกและมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.36 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | ห้องเรียนกลับด้าน การใช้ปัญหาเป็นฐาน ความสามารถในการคิดเชิงคำนวณ ความสามารถในการแก้ปัญหา | th |
dc.subject | Flipped Classroom | en |
dc.subject | Problembased learning | en |
dc.subject | Computational thinking ability | en |
dc.subject | Problem solving ability | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | The Effects of Flipped Classroom Instructions with Problem-Based Learning on Computational Thinking Ability and Problem Solving Ability for First - Year High Vocational Diploma Students in Civil Technology of Nakhon Si Thammarat Technical College | en |
dc.title | ผลของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการคิดเชิงคำนวณและความสามารถในการแก้ปัญหาสำหรับนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาโยธาวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tweesak Chindanurak | en |
dc.contributor.coadvisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | tweesak.chi@stou.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | tweesak.chi@stou.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education in Science Education (Master of Education(Science Education)) | en |
dc.description.degreename | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Education (Science Education) | en |
dc.description.degreediscipline | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา) | th |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2642000265.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น