Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattarasuda Rittichaien
dc.contributorภัทรสุดา ฤทธิชัยth
dc.contributor.advisorDuongdearn Suwanjindaen
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:11Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:11Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued19/9/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13176-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare the  modeling ability of grade 4 students at Banthabthon school in Surat Thani province before and after using model-based learning management, 2) compare the science learning achievement in the topic of flowering plant of grade 4 students at Banthabthon school in Surat Thani province students before and after using model-based learning management and 3) compare the science learning achievement in the topic of flowering plant of grade 4 students at Banthabthon school in Surat Thani province after using model-based learning management with the criteria of 70 percent.                  The research sample consisted of 12 grade 4 Students at Banthabthon school in Surat Thani province who studied in the 2023 academic year, obtained by cluster random sampling. The research instruments were 1) 6 lesson plans based on model-based learning management in the topic of flowering plant for 18 hours, 2) a modeling ability assessment form, and 3) a science learning achievement test.   The statistics used for data analysis were the mean, standard deviation and sign-test.The research findings showed that 1) the modeling ability  of the grade 4 students after using model-based learning management was higher than that of before at .05 level of significance, 2) The science learning achievement of the grade 4 students after using model-based learning management was higher than that of before at .05 level of significance. And  3) the science learning achievement of the grade 4 students after using model-based learning management was lower than the criteria of 70 percent at .05 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการสร้างแบบจำลองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบ้านทับท้อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชแบบจำลองเป็นฐาน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชดอก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบ้านทับท้อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชแบบจำลองเป็นฐาน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชดอก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบ้านทับท้อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชแบบจำลองเป็นฐานหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านทับท้อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 12 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรูโดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง พืชดอก จำนวน 6 แผน รวมทั้งสิ้น 18 ชั่วโมง 2) แบบวัดความสามารถในการสร้างแบบจำลอง และ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชดอก  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมายผลการวิจัยปรากฎว่า 1) ความสามารถในการสร้างแบบจำลองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4  ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชแบบจำลองเป็นฐาน หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชดอก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชแบบจำลองเป็นฐาน หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และ 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชดอก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชแบบจำลองเป็นฐาน หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน ความสามารถในการสร้างแบบจำลอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาth
dc.subjectModel-based learning managementen
dc.subjectModeling abilityen
dc.subjectScience learning achievementen
dc.subjectPrimary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effects of Using Model-Based Learning Management on Modelling Ability and Science Learning Achievement in the Topic of Flowering Plants of Grade 4 Students at Banthabthon School in Surat Thani Provinceen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการสร้างแบบจำลองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชดอก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านทับท้อน  จังหวัดสุราษฎร์ธานีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorDuongdearn Suwanjindaen
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Science Education (Master of Education(Science Education))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Science Education)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642000364.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.