Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPRASERT PARATHANGen
dc.contributorประเสริฐ ปะระทังth
dc.contributor.advisorDuongdearn Suwanjindaen
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:12Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:12Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued18/7/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13177-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare nature of science understanding of grade 4 students learning through the explicit-reflective approach instruction with those of students learning through the traditional learning instruction, and 2) compare science process skills of grade 4 students learning through the explicit-reflective approach instruction with those of students learning through the traditional learning instruction.The sample was 70 grade 4 students from two intact classrooms, in the first semester of the academic year 2023, at Muangwapipathum school in Mahasarakham province, obtained from cluster random sampling. The research tools were 1) 8 lesson plans using traditional learning instruction, 2) 8 lesson plans using explicit-reflective approach instruction, 3) a measurement form of science understanding, and 4) a measurement form of science process skills. Statistics employed for data analysis were the mean, percentage, standard deviation, and t-test.The results of this research were as follows: 1) the nature of science understanding of grade 4 students learning through the explicit-reflective approach instruction was higher than that of the students learning through the traditional learning instruction at the .05 level of statistical significance, and 2) the science process skills of grade 4 students learning through the explicit-reflective approach instruction was higher than that of the students learning through the traditional learning instruction at the .05 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)  เปรียบเทียบความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิด และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ 2)  เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิดและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ                กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 2 ห้องเรียน ๆ ละ 35 คน จำนวนนักเรียนรวม 70 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำนวน 8 แผน 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิด จำนวน 8 แผน 3)  แบบวัดความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และ 4) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิดสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิดสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectความเข้าใจ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิดth
dc.subjectUnderstandingen
dc.subjectNature of Scienceen
dc.subjectScience Process Skillsen
dc.subjectExplicit-reflective Approachen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effects of Using Explicit-reflective Approach Instruction on Nature of Science Understanding and Science Process Skills of Grade 4 Students at Muangwapipathum School in Mahasarakham Provinceen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนคิดที่มีต่อความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองวาปีปทุม  จังหวัดมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorDuongdearn Suwanjindaen
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Science Education (Master of Education(Science Education))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Science Education)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642000505.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.