กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13185
ชื่อเรื่อง: | The Effects of Group Investigation Instruction in the Topic of Building Peaceful Society on Problem Solving Thinking Ability of Grade 9 Students, Kasetsart University Laboratory School, Kamphaeng Saen Campus, Educational Research and Development Center ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม เรื่อง การสร้างสังคมสันติสุข ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | NAWIYA PEUNGKATSOONTORN นวิยา พึ่งเกศสุนทร Darunee Jumpathong ดรุณี จำปาทอง Sukhothai Thammathirat Open University Darunee Jumpathong ดรุณี จำปาทอง [email protected] [email protected] |
คำสำคัญ: | สืบเสาะและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา มัธยมศึกษา Group investigation instruction Problem solving thinking ability Secondary education |
วันที่เผยแพร่: | 14 |
สำนักพิมพ์: | Sukhothai Thammathirat Open University |
บทคัดย่อ: | This study aimed to compare the problem solving thinking ability before and after using the Group Investigation Instruction in the topic of Building Peaceful Society of grade 9 students at Kasetsart University Laboratory School, Kamphaeng Saen Campus, Educational Research and Development Center. The research samples consisted of 27 students studying in the first semester of academic year 2024 in an intact classroom obtained by cluster random sampling. The research instruments were 1) 3 lesson plans aligning with the Group Investigation Instruction of 10 hours, and 2) the problem solving thinking ability test. The statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The study revealed that the average scores of the pretest and posttest were 13.41 and 24.63 respectively. It was found that the problem solving thinking ability of grade 9 students after learning by using the Group Investigation Instruction was higher than the pre-learning counterpart with statistical significance at the .05 level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาก่อนและหลังเรียน เรื่อง การสร้างสังคมสันติสุข ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2567 ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียน 27 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้การศึกษา ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม จำนวน 3 แผน 10 ชั่วโมง และ 2) แบบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนเท่ากับ 13.41 และ 24.63 ตามลำดับ โดยนักเรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13185 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2642100446.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น