Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13334
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพพล อัคฮาดth_TH
dc.contributor.authorณัฐภัทร เอี่ยมกระสินธ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:37:33Z-
dc.date.available2025-01-24T08:37:33Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13334en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิผลการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปสู่การปฏิบัติ (2) ระดับการจัดบริการสาธารณะแนวใหม่ของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (3) การเปรียบเทียบระดับประสิทธิผลของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติกับ ปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริการสาธารณะแนวใหม่กับประสิทธิผลของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติของอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอนการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือหัวหน้าทีมขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบล/เทศบาลและคณะกรรมการทีมขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบล/เทศบาล ทั้ง 7 ตำบล สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน รวมจำนวน 1,350 คน โดยการกำหนดสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยค่าความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดอย่างน้อย 309 คนสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการแบบกลุ่มเครื่องมือในการศึกษาคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยด้วยวิธีแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย สถิติทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นกับประสิทธิผลของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติของอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน โดยภาพรวมอยู่ระดับมาก (2) ระดับการจัดบริการสาธารณะแนวใหม่ในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พื้นที่อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ภาพรวมอยู่ระดับมาก (3) เปรียบเทียบระดับประสิทธิผลของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติของอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนกับปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าปัจจัยด้านอายุ ระดับการศึกษา รายได้ แตกต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านสถานภาพการสมรส อาชีพ และ ระยะเวลาการเป็นสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติของอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน แตกต่างกัน และ (4) มีความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการ บริการสาธารณะแนวใหม่กับประสิทธิผลของการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติของอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ในเชิงบวกในระดับสูงมาก (ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ .878) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05.th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการจัดบริการสาธารณะแนวใหม่  ประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ  กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชารัฐประศาสนศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--รัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริการสาธารณะแนวใหม่กับประสิทธิผลการนำนโยบายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปปฏิบัติ : ศึกษากรณีอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeRelationship between the new public service factors and the effectiveness of woman empowerment fund policy implementation: a case study of Mueang Mae Hong Son District, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to study: (1) the effectiveness of implementing the Women’s Employment Fund policy; (2) the level of new public service delivery by the Women’s Employment Fund; (3) the comparison of the effectiveness of implementing the Women’s Employment Fund policy across various personal factors and (4) the relationship between the new public service delivery factors and the effectiveness of implementing the Women’s Employment Fund policy in Mueang Mae Hong Son District, Mae Hong Son Province.A quantitative research method was employed, with the population consisting of leaders and committee members of the Women’s Employment Fund driving teams in all seven sub-districts, municipalities and fund members in Mueang Mae Hong Son District, totaling 1,350 individuals, using a 95% confidence level and Yamane's formula, a minimum sample size of 309 was determined. The sample was randomly selected by cluster sampling method. The research tool was a questionnaire, and data were analyzed using frequency distributions, percentage, standard deviation, mean, t-test, One-way ANOVA, with a Pearson’s Correlation significance level set at 0.05.The findings reveal that: (1) the overall effectiveness of implementing the Women’s Employment Fund policy in Mueang Mae Hong Son District is high; (2) the level of new public service delivery management by the Women’s Employment Fund in Mueang Mae Hong Son District is also high; (3) comparing the effectiveness of policy implementation with personal factors, it was found that age, education level, and income did not show significant differences, whereas marital status, occupation, and membership duration did show significant differences; and (4) there is a very strong positive relationship between new public service delivery factors and the effectiveness of policy implementation in Mueang Mae Hong Son District, with a correlation coefficient of 0.878 at the 0.05 significance level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2643003680.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.