กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13489
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิกรณ์ รักษ์ปวงชน | th_TH |
dc.contributor.author | นงนุช ด้วงเรือง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:47:48Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:47:48Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13489 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมดูแลสุนัข ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายในการควบคุมดูแลสุนัขขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น และประเทศนิวซีแลนด์ (3) วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมาย ในการควบคุมดูแลสุนัขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขกฎหมาย การควบคุมดูแลสุนัขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารจากตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ สาระนิพนธ์ ข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเอกสารทางกฎหมายและบทบัญญัติ กฎหมายต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่เป็นระบบและเหมาะสม อันจะสามารถนำไปสู่การปรับปรุง กฎหมายในการควบคุมดูแลสุนัขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดว่าด้วยสิทธิสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สัตว์ทุกชนิดมีสิทธิที่จะได้รับ การเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม สัตว์นั้นจะต้องไม่ถูกทอดทิ้งหรือทำให้ตายโดยเด็ดขาด และสิทธิของสัตว์ต้องได้รับ การยอมรับจากกฎหมาย (2) กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมดูแลสุนัขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีเฉพาะข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเท่านั้นที่ใช้บังคับอยู่ ซึ่งแตกต่างจากประเทศญี่ปุ่นและประเทศนิวซีแลนด์ ที่มีการบัญญัติกฎหมายการควบคุมดูแลสุนัขเป็นการเฉพาะ รวมถึงมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด (3) กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมดูแลสุนัขขององค์กรปกครองปกครองส่วนท้องถิ่นมีปัญหา คือ ปัญหา การขาดบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแลสุนัขเป็นการเฉพาะ ปัญหาการขาดมาตรการ ในการขึ้นทะเบียนการเลี้ยงสุนัขและขาดบทลงโทษที่เหมาะสม ปัญหาการควบคุมการจำหน่ายสุนัข และปัญหาการเพิ่มจำนวนของสุนัขจรจัดเนื่องจากไม่มีการมาตรการควบคุมดูแลจากภาครัฐ (4) ควรเพิ่มเติม กฎหมายในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 29 วรรคสาม ในกรณีการควบคุมดูแลสุนัข ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลในเขตท้องถิ่นนั้น โดยให้ออกกฎกระทรวง มารองรับบทบัญญัติดังกล่าวเพื่อให้มีผลใช้บังคับได้ในทุกท้องถิ่นทั่วราชอาณาจักร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สุนัข--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมดูแลสุนัขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.title.alternative | Legal measures regarding the supervision of dogs by local administrative organization | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aims to (1) explore the concepts related to dog control and management by local government organizations, (2) examine legal measures for dog control by local government organizations in Thailand and other countries, (3) analyze legal issues for dog control by local government organizations, and (4) propose recommendations for amending the laws regarding dog control by local government organizations.This independent research is a qualitative study involving a review of documents such as textbooks, articles, theses, dissertations, relevant electronic media, legal documents, and various legal provisions. The goal is to obtain systematic and appropriate knowledge that can lead to effective improvements in laws governing dog control by local government organizations.The study findings are as follows: (1) For the concepts of animal rights and welfare, all animals have the rights to proper care. More over, they must not be abandoned or allowed to die. (2) Local Government Dog Control Laws: Currently, only Bangkok's regulations are in force for dog control, unlike Japan and New Zealand, which have specific, strictly enforced dog control laws. (3)There are problems related to Current Local Government Dog Control Laws. The law lacks of specific legal provisions for dog control, absence of measures for dog registration and appropriate penalties, challenges in regulating dog sales, and the increase in stray dogs due to insufficient government control measures. (4) recommendations for Legal Improvement: is to amend the Public Health Act B.E. 2535 (1992), Section 29, Paragraph 3, to grant local government organizations the authority to manage dog control within their jurisdictions, supported by ministerial regulations to ensure uniform application across the entire kingdom. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Law-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2654000583.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น