Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13530
Title: Effect of Banana Pseudostem Supplementation on Production Performance of Laying Hens
ผลของการเสริมกาบกล้วยต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ระยะไข่
Authors: Chakkrapan Nantapong
จักรพันธ์ นันทพงศ์
Monticha Putsakum
มณฑิชา พุทซาคำ
Sukhothai Thammathirat Open University
Monticha Putsakum
มณฑิชา พุทซาคำ
[email protected]
[email protected]
Keywords: กาบกล้วย สมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ ไก่ไข่ระยะไข่
Banana pseudostem
Layer production performance
Laying hens
Issue Date:  22
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: This research aimed to study 1) the level of banana pseudostem supplementation in layer feed on the hen day production, 2) the level of banana pseudostem supplementation in layer feed on the egg weight, 3) the level of banana pseudostem supplementation in layer feed on the weight of laying hens, and 4) feed cost for laying hens fed with different levels of banana pseudostem supplements.This research was an experimental research that was conducted in a Completely Randomized Design. Sixty-two weeks old of 90 Roman Brown laying hens were randomly assigned to 3 treatments, and each treatment contained 3 replicates with 10 laying hens per replicate. Each treatment received different feeds: Treatment 1 was fed with commercial feed (control group). Treatment 2 and 3 were fed with commercial feed and banana pseudostem at 16.67 and 37.50 percent of the total feed intake per chicken per day, respectively. Data were analyzed by Analysis of Variance and the means between the treatments were compared using Duncan’s New Multiple Range Test.The results found that 1) the hen day production was significantly different (p
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการเสริมกาบกล้วยในอาหารต่ออัตราการให้ไข่  2) ระดับการเสริมกาบกล้วยในอาหารต่อน้ำหนักไข่ 3) ระดับของการเสริมกาบกล้วยในอาหารต่อน้ำหนักไก่ไข่  และ 4) ต้นทุนค่าอาหารไก่ไข่ที่ได้รับอาหารเสริมกาบกล้วยระดับต่าง ๆ                  การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ หน่วยทดลองคือไก่ไข่พันธุ์โรมันบราว์อายุ 62 สัปดาห์ จำนวน 90 ตัว ถูกสุ่มออกเป็น 3 ทรีตเมนต์ ทรีตเมนต์ละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ไก่ไข่ทดลองแต่ละทรีตเมนต์ได้รับอาหารแตกต่างกันดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 ได้รับอาหารสำเร็จรูปทางการค้า (กลุ่มควบคุม) ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 3 ได้รับอาหารสำเร็จรูปทางการค้าและกาบกล้วย 16.67  และ 37.50 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อวัน ตามลำดับ วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่าง ทรีตเมนต์โดยวิธี Duncan’s New Multiple Range Testผลการวิจัยพบว่า 1) อัตราการให้ใข่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13530
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2589002191.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.