Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมณฑิชา พุทซาคำth_TH
dc.contributor.authorจักรพันธ์ นันทพงศ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:09Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:09Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13530en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการเสริมกาบกล้วยในอาหารต่ออัตราการให้ไข่  2) ระดับการเสริมกาบกล้วยในอาหารต่อน้ำหนักไข่ 3) ระดับของการเสริมกาบกล้วยในอาหารต่อน้ำหนักไก่ไข่  และ 4) ต้นทุนค่าอาหารไก่ไข่ที่ได้รับอาหารเสริมกาบกล้วยระดับต่าง ๆ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ หน่วยทดลองคือไก่ไข่พันธุ์โรมันบราว์อายุ 62 สัปดาห์ จำนวน 90 ตัว ถูกสุ่มออกเป็น 3 ทรีตเมนต์ ทรีตเมนต์ละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ไก่ไข่ทดลองแต่ละทรีตเมนต์ได้รับอาหารแตกต่างกันดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 ได้รับอาหารสำเร็จรูปทางการค้า (กลุ่มควบคุม) ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 3 ได้รับอาหารสำเร็จรูปทางการค้าและกาบกล้วย 16.67  และ 37.50 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อวัน ตามลำดับ วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่าง ทรีตเมนต์โดยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test ผลการวิจัยพบว่า 1) อัตราการให้ไข่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยไก่ไข่ทรีตเมนต์ที่ 1 มีอัตราการให้ไข่สูงสุด และไก่ไข่ทรีตเมนต์ที่ 3 มีอัตราการให้ไข่ต่ำสุด 2) น้ำหนักไข่รวมและ น้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟองมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้ำหนักไข่รวมและน้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟองสูงสุด ในขณะที่ทรีตเมนต์ที่ 3 มีน้ำหนักใข่รวมและน้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟองต่ำสุด 3) ไก่ไข่ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้ำหนักเฉลี่ยต่อตัวที่สัปดาห์ที่ 4 และ 8 ของการทดลองแตกต่างจากทรีตเมนต์อื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในขณะที่ไก่ไข่ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 3 มีน้ำหนักเฉลี่ยต่อตัวไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) 4) ทรีตเมนต์ที่ 1 มีต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ยต่อตัวสูงสุด ในขณะที่ทรีตเมนต์ที่ 3 มีต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ยต่อตัวต่ำสุด สำหรับต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ยต่อไข่ 1 ฟองมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยทรีตเมนต์ที่ 1 มีต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ยต่อไข่ 1 ฟองต่ำสุด และทรีตเมนต์ที่ 3 มีต้นทุนค่าอาหารเฉลี่ยต่อไข่ 1 ฟองสูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการทรัพยากรเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไข่--การผลิตth_TH
dc.titleผลของการเสริมกาบกล้วยต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ระยะไข่th_TH
dc.title.alternativeEffect of banana pseudostem supplementation on production performance of laying hensen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study 1) the level of banana pseudostem supplementation in layer feed on the hen day production, 2) the level of banana pseudostem supplementation in layer feed on the egg weight, 3) the level of banana pseudostem supplementation in layer feed on the weight of laying hens, and 4) feed cost for laying hens fed with different levels of banana pseudostem supplements. This research was an experimental research that was conducted in a Completely Randomized Design. Sixty-two weeks old of 90 Roman Brown laying hens were randomly assigned to 3 treatments, and each treatment contained 3 replicates with 10 laying hens per replicate. Each treatment received different feeds: Treatment 1 was fed with commercial feed (control group). Treatment 2 and 3 were fed with commercial feed and banana pseudostem at 16.67 and 37.50 percent of the total feed intake per chicken per day, respectively. Data were analyzed by Analysis of Variance and the means between the treatments were compared using Duncan’s New Multiple Range Test. The results found that 1) the hen day production was significantly different (p<0.05), with treatment 1 having the highest hen day production and treatment 3 having the lowest hen day production. 2) The total egg weight and average egg weight per egg were significantly different (p<0.05), with treatment 1 having the highest total egg weight and average egg weight per egg, while treatment 3 had the lowest total egg weight and average egg weight per egg. 3) The laying hens in treatment 1 had an average weight per bird at the 4th and 8th weeks of the experiment that was statistically significantly different from the other treatments (p<0.05), while the laying hens in treatments 2 and 3 had no statistically different average weight per bird (p>0.05). 4) Treatment 1 had the highest average feed cost per bird, while treatment 3 had the lowest average feed cost per bird. For average feed cost per egg, there was a statistically significant difference (p<0.05), with treatment 1 having the lowest average feed cost per egg and treatment 3 having the highest average feed cost per egg.en_US
dc.contributor.coadvisorวรินธร มณีรัตน์th_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2589002191.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.