กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13849
ชื่อเรื่อง: | Development of the Concept-Process Model and Metacognition Via FAR Analogy-Based Learning Approach in the Topic of Metabolism Among Second-Year Undergraduates การพัฒนาความสามารถในการสร้างแบบจำลองแนวคิดกระบวนการ และอภิปัญญาโดยใช้การเรียนรู้แบบเปรียบเทียบเป็นฐานรูปแบบ FAR เรื่อง เมแทบอลิซึม ของนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | WITAWAS HANDEE วิทวัส หาญดี Jurarat Thammaprateep จุฬารัตน์ ธรรมประทีป Sukhothai Thammathirat Open University Jurarat Thammaprateep จุฬารัตน์ ธรรมประทีป [email protected] [email protected] |
คำสำคัญ: | แบบจำลองแนวคิดกระบวนการ การเรียนรู้แบบเปรียบเทียบเป็นฐานแบบ FAR อภิปัญญาอุดมศึกษา Concept-process model; FAR analogy-based learning; Metacognition; Metabolism |
วันที่เผยแพร่: | 27 |
สำนักพิมพ์: | Sukhothai Thammathirat Open University |
บทคัดย่อ: | This study aims to compare students' ability to develop concept-process models before and after learning through the instruction using FAR (Focus, Action, Reflection) analogy-based learning in the topic of metabolism and to analyze the relationship between concept-process model ability and the metacognition of second-year undergraduate students.The sample group consisted of 137 second-year undergraduate students from the Faculty of Engineering and Industrial Technology at a public university, enrolled in a basic chemistry course during the 2023 academic year. A cluster random sampling method was used to select participants. The research instruments included a FAR-based analogical learning instructional plan on metabolism, an assessment of process conceptual modeling skill, and a Metacognitive Awareness Inventory (MAI). Data analysis was conducted using learning progress assessment, t-tests and Spearman’s correlation coefficient analysis.The results revealed an improvement in students' ability to develop concept-process models, with a learning progress rate of 16.5%. Statistical analysis before and after the activities indicated a significant increase in test scores (Z = 6.277, p การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสร้างแบบจำลองแนวคิดกระบวนการ ก่อนและหลังเรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบเปรียบเทียบเป็นฐานแบบ FAR เรื่อง เมแทบอลิซึม และ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการสร้างแบบจำลองแนวคิดกระบวนการกับอภิปัญญาของนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จากคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จากมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่ง จำนวน 137 คน ที่ลงทะเบียนเรียน วิชาเคมีพื้นฐาน ปีการศึกษา 2566 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบเปรียบเทียบเป็นฐานแบบ FAR เรื่อง เมแทบอลิซึม แบบวัดความสามารถในการสร้างแบบจำลองแนวคิดกระบวนการ และแบบวัดอภิปัญญา วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความก้าวหน้าทางการเรียน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ผลการศึกษาพบว่า ความสามารถในการสร้างแบบจำลองแนวคิดกระบวนการของนักศึกษามีการพัฒนาขึ้น โดยมีค่าความก้าวหน้าทางการเรียนที่ 16.5% ผลการวิเคราะห์ทางสถิติก่อนและหลังทำกิจกรรมพบการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของคะแนนการทดสอบ (Z=6.277, p |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13849 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2642000281.pdf | 2.13 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น