กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1638
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ประณิตา ทองพันธ์, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-27T06:18:37Z | - |
dc.date.available | 2022-09-27T06:18:37Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1638 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน กลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ (2) เปรียบเทียบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช่ชุดกิจกรรมแนะแนวและนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จํานวน 24 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 12 คน เท่ากัน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์จํานวน 12 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที ส้วนกลุ่มควบคุมใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได่แก่ (1) แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ (3) กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล่การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว นักเรียนกลุ่มทดลองมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาในการศึกษาขั้นประถม | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop desirable characteristics of Prathom Suksa III students at La-or-utis Demonstration School, Suan Dusit University in Bangkok Metropolis | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the levels of desirable characteristics of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop desirable characteristics; and (2) to compare the desirable characteristics level of the experimental group students who used the guidance activities package with the counterpart level of the control group students who took normal guidance activities. The research sample consisted of 24 Prathom Suksa III students of La-orutis Demonstration School, Suan Dusit University, obtained by cluster random sampling technique. Then, they were randomly divided into an experimental group and a control group, each of which containing 12 students. The experimental group students used a guidance activities package to develop desirable characteristics for 12 sessions, with 50 minutes in each session; while the control group students took normal guidance activities. The employed research instruments were (1) a desirable characteristics assessment scale with reliability coefficient of .94; (2) a guidance activities package to develop desirable characteristics; and (3) a set of normal guidance activities. Statistics for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test, and Mann-Whitney U Test. Research findings revealed that (1) the post-experiment desirable characteristics level of the experimental group students who used a guidance activities package to develop desirable characteristics was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) the post-experiment desirable characteristics level of the experimental group students who used the guidance activities package to develop desirable characteristics was significantly higher than the counterpart level of the control group students who took normal guidance activities at the .01 level of statistical significance | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159631.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.02 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License