Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1640
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | เขมณัฏฐ์ จันทรแสงนาวี, 2516- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-27T06:59:20Z | - |
dc.date.available | 2022-09-27T06:59:20Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1640 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับการปรับตัวทางสังคม ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (2) เปรียบเทียบระดับการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนและกลุ่มควบคุมหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามปกติเพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคม และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีมีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จํานวน 88 คน ใน 2 ห้องเรียน ของโรงเรียนสฤษดิเดช จังหวัดจันทบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วกำหนดโดยสุ่มให้เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ห้องเรียนละ 44 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียน (2) แบบวัดการปรับตัวทางสังคม และ (3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียน มีระดับการปรับตัวทางสังคมสูงขึ้นกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนมีระดับการปรับตัวทางสังคมสูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ทํากิจกรรมแนะแนวปกติอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 ในด้านการอยู่ร่วมกัน ด้านการควบคุมอารมณ์ตนเอง ส่วนด้านเคารพกฎกติกานั้นทั้งสองกลุ่มมีระดับการปรับตัวทางสังคมไม่แตกต่างกัน 3) นักเรียนกลุ่มทดลองมีความพึงพอใจในระดับมาก ต่อชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การปรับตัวทางสังคม | th_TH |
dc.subject | นักเรียนประถมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน-- ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสฤษดิเดช จังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique to develop social adaptation of Prathom Suksa I students at Saritdidet School in Chanthaburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the levels of social adaptation of the experimental group students before and after using a guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique to develop social adaptation of Prathom Suksa I students; (2) to compare the level of social adaptation of the experimental group students who used the guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique to develop social adaptation with the counterpart level of the control group students who took normal guidance activities to develop social adaptation; and (3) to study the students’ satisfaction with the guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique. The research sample consisted of 88 Prathom Suksa I students in two intact classroom of Saritdidet School in Chanthaburi Province during the first semester of the 2018 academic year, obtained by cluster sampling. Then, one classroom containing 44 students was randomly assigned as the experimental group; the other classroom containing 44 students, the control group. The employed research instruments were (1) a guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique to develop social adaptation; (2) a scale to assess social adaptation; and (3) a questionnaire to assess student’s satisfaction with the guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique. The data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings were as follows: (1) the post-experiment social adjustment level of the experimental group students who used the guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique to develop social adaptation was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; (2) the social adjustment level of the experimental group students who used the guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique to develop social adaptation was significantly higher than the counterpart level of the control group students at the .05 level of statistical significance in the aspects of cohabitation, and self-emotion control, while no significant difference was found in the aspect of respect for the rules and regulations; and (3) the experimental group students were satisfied at the high level with the guidance activity package based on out-of-classroom learning management technique | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_160608.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License