Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปนัดดา ยะติน, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-29T03:26:56Z-
dc.date.available2022-09-29T03:26:56Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1644-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนพิการเรียนรวมของโรงเรียนวังเหนือวิทยา ก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเกสตัลท์ของกลุ่มทดลอง และ 2) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนพิการเรียนรวมของโรงเรียนวังเหนือวิทยาหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนพิการเรียนรวม ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวังเหนือวิทยา จังหวัดลำปาง ที่มีคะแนนการตระหนักรู้ในตนเองต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 25 จำนวน 30 คน ได้มาโดยสุ่มอย่างง่าย แบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ15 คน กลุ่มทดลองได้รับการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเกสตัลท์ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบวัดการตระหนักรู้ในตนเอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .73 2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเกสตัลท์ และ 3) กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนพิการเรียนรวมที่ได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเกสตัลท์ มีการตระหนักรู้ในตนเองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนพิการเรียนรวมกลุ่มทดลองที่ได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม ตามแนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเกสตัลท์ มีการตระหนักรู้ในตนเองสูงกว่านักเรียนพิการเรียนรวมกลุ่มควบคุมที่ได้รับกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--ลำปางth_TH
dc.titleผลการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีการปรึกษาเกสตัลท์ต่อการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนพิการเรียนรวมโรงเรียนวังเหนือวิทยา จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeThe effects of group counseling based on gestalt counseling theory on self-awareness of disabled students in mainstreaming classroom of Wang Nuea Wittaya School, Lampang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of selfawareness of experimental group disabled students in mainstreaming classroom of Wang Nuea Wittaya School before and after receiving group counseling based on Gestalt counseling theory; and (2) to compare the post-experiment level of selfawareness of experimental group disabled students with the counterpart selfawareness level of the control group disabled students in mainstreaming classroom of Wang Nuea Wittaya School. The research sample consisted of 30 disabled students in mainstreaming classroom of Wang Nuea Wittaya School in Lampang province. They were randomly selected from the group of students whose self-awareness scores were below the 25th percentile. Then, they were randomly assigned to the experimental group and the control group with 15 students in each group. The experimental group students received group counseling based on Gestalt counseling theory; while the control group students received traditional guidance activities. The employed research instruments were (1) a scale to assess self-awareness, with reliability coefficient of .73; (2) a group counseling program based on Gestalt counseling theory; and (3) traditional guidance activities. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that (1) the post-experiment self-awareness level of experimental group disabled students, who received group counseling based on Gestalt counseling theory, was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) the postexperiment self-awareness level of experimental group disabled students, who received group counseling based on Gestalt counseling theory, was significantly higher than the post-experiment counterpart level of the control group disabled students, who received traditional guidance activities, at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_160988.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons