Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1662
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | รัตนาภรณ์ เพ็ชรรัตน์, 2530- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-01T03:23:24Z | - |
dc.date.available | 2022-10-01T03:23:24Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1662 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผนวกการใช้การสอนภาพเคลื่อนไหว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ธาตุและสารประกอบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ (2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผนวกการใช้การสอนภาพเคลื่อนไหวกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนมัธยมวิภาวดี ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมขนาดเล็กในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผนวกการใช้สื่อภาพเคลื่อนไหว เรื่อง ธาตุและสารประกอบ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ธาตุและสารประกอบ และ (3) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผนวกการใช้สื่อการสอนภาพเคลื่อนไหวมีค่าเฉลี่ยคะแนนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผนวกการใช้สื่อการสอนภาพเคลื่อนไหวมีคะแนนเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลการใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผนวกการใช้สื่อการสอนเคลื่อนไหวที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องธาตุและสารประกอบ และความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในกลุ่มโรงเรียนมัธยมขนาดเล็กของสุราษฎร์ธานี เขต 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using inquiry learning method together with animation instructional media on chemistry learning achievement in the topic of elements and compound and scientific creative thinking of Mathayom Suksa IV students of small size school group in Surat Thani Educational Service Area 1 Surat Thani Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare learning achievement of students who learned with the use of the inquiry learning method together with animation instructional media in the Science Learning Area topic of Elements and Compounds with the 75 % of full score criterion; and (2) to compare scientific creative thinking of the students before and after learning with the use of the inquiry learning method together with animation instructional media. The research sample consisted of Matthayom Suksa IV students studying in the first semester of the 2017 academic year at Matthayom Wiphawadee School which was a small sized school in Surat Thani province. The students were obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans for the inquiry learning method together with the use of animation instructional media in the topic of Elements and Compounds; (2) a chemistry learning achievement test on the topic of Elements and Compounds; and (3) a scientific creative thinking test. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and ttest. The results of this study were as follows: (1) the learning achievement mean score of the experimental group students who learned with the use of the inquiry learning method together with animation instructional media was higher than the 75 % of full score criterion at the .05 level of statistical significance; and (2) the postlearning scientific creative thinking mean score of the experimental group students who learned with the use of the inquiry learning method together with animation instructional media was higher than their pre-learning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_160949.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License