Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ วงส์พิเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนิต ผิวนิ่ม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายชล เพลินจิตต์, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T07:41:19Z-
dc.date.available2022-10-20T07:41:19Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1812-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้น้ำพืชสมุนไพรเสริมอาหารเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมต่อการเจริญเติบโต อัตราการแลกเนื้อ อัตราการเลี้ยงรอด คุณภาพน้า และปริมาณเชื้อวิบริโอในตับกุ้ง ผลการทดลองพบว่า การเสริมน้าสมุนไพรในอาหารทุกทรีตเมนต์มีผลต่อการเจริญเติบโตและ อัตราการแลกเนื้อของกุ้งขาวแวนนาไมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P >.05) กุ้งที่ได้รับอาหารเสริมน้าต้นน้านมราชสีห์ (T5) มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยสูงสุด คือ 0.063 กรัมต่อตัวต่อวัน และมีอัตราการแลกเนื้อดีที่สุด คือ 1.14 ส่วนกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมน้าสาหร่ายคีโตมอร์ฟา (T3) มีอัตราการเจริญเติบโตต่ำสุด คือ 0.059 กรัมต่อตัวต่อวัน และมีอัตราการแลกเนื้อด้อยที่สุด คือ 1.22 ทั้งนี้กุ้งที่ได้รับอาหารเสริมน้าหญ้าแห้วหมู (T4) มีอัตราการรอดตายต่าสุด คือ ร้อยละ 83.33 เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่มีอัตราการรอดตายสูงสุด คือ ร้อยละ 94.44 อย่างไรก็ดีอัตราการรอดตายของกุ้งทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ (P>0.05) นอกจากนี้การใช้น้ำพืชสมุนไพรเสริมอาหารมีผลต่อคุณภาพน้ำเลี้ยงกุ้งไม่แตกต่างกัน (P>0.05) สำหรับปริมาณเชื้อวิบริโอสีเหลืองและสีเขียวในตับกุ้งพบว่า กุ้งที่ได้รับอาหารเสริมต้นน้ำนมราชสีห์ (T5) มีปริมาณเชื้อวิบริโอสีเหลืองต่ำสุด คือ 2.37×104 ซีเอฟยู/กรัม และกุ้งที่ได้รับอาหารเสริมน้ำต้นลูกใต้ใบ (T6) มีปริมาณเชื้อวิบริโอสีเหลืองสูงสุด 5.47 ×104 ซีเอฟยู/กรัม สำหรับกุ้งที่ได้รับอาหารเสริมน้ำต้นลูกใต้ใบ (T6) มีปริมาณเชื้อวิบริโอสีเขียวสูงสุด 4.75×102 ซีเอฟยู/กรัมและตรวจไม่พบปริมาณเชื้อวิบริโอสีเขียวในกุ้งที่ได้รับอาหารเสริมน้าหญ้าแห้วหมู (T4) และอาหารเสริมน้ำต้นน้ำนมราชสีห์ (T5)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.407-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกุ้งขาวแวนนาไม--โรคth_TH
dc.subjectกุ้งขาวแวนนาไม--การเลี้ยง--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.titleผลการใช้น้ำพืชสมุนไพรผสมอาหารต่อการรอดตายและเติบโตของกุ้งขาวแวนนาไมth_TH
dc.title.alternativeEffect of herbal extract supplementation on survival rate and growth performance of Pacific White Shrimpen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.407-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to evaluate the effect of dietary supplementation with various herbal extracts on the growth performance, feed conversion ratio, survival rate, water quality, and the amount of Vibrio spp. in the livers of the Pacific white shrimp. The results showed that all herbal supplemented treatments did not result in statistically significant differences (P>0.05) in growth performance or feed conversion ratio of shrimps. Shrimp receiving the Euphorbia hirta added treatment (T5) showed the highest average daily weight gain (ADG), which was 0.063 gram/shrimp/day, and the best feed conversion ratio (FCR), which was 1.14. While the Chaetomorpha sp. added treatment (T3) showed the poorest values with ADG of 0.059 gram/shrimp/day and FCR of 1.22. Shrimp receiving the Cyperus rotundus added treatment (T4) had the lowest survival rate, compared to the highest survival rate of the control treatment (83.33% VS 94.44%). However, the survival rates of all treatments had no significant differences (P>0.05). Additionally, all herbal supplement diets had no effects on water quality parameters (P>0.05). The amount of Vibrio spp. detected in the hepatopancreas of shrimp showed that shrimp receiving Euphorbia hirta added treatment (T5) had the lowest amount of yellow colony of Vibrio spp., with value measured at 2.37 x104 cfu/g., and the Phyllanthus amarus added group (T6) had the highest amount of yellow colony of Vibrio spp., which was 5.47 x104 cfu/g. For the amount of green colony of Vibrio spp. in the Phyllanthus amarus added treatment (T6) showed the highest with value measured at 4.75 x102 cfu/g., and there were no green colonies of Vibrio spp detected in shrimps receiving Cyperus rotundus added treatment (T4) and Euphorbia hirta added treatment (T5).en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141035.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons