Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลี่ยว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกนกขวัญ เผ่าทิพย์จันทร์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T02:29:14Z-
dc.date.available2022-11-11T02:29:14Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2096-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทักษะในการสื่อสาร ขีดความสามารถด้านความ ปลอดภัย และระดับของการจัดการความปลอดภัยของพยาบาลประจำการ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ทักษะในการสื่อสาร ขีดความสามารถด้านความปลอดภัย กับ การจัดการความปลอดภัยของพยาบาล ประจำการ และ (3) ศึกษาตัวแปรที่ร่วมพยากรณ์การจัดการความปลอดภัยของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในคำกับของรัฐ กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้เป็นพยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ แห่งหนึ่ง คำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้ Power analysis และสุ่มตัวอย่างแบบ แบ่งชั้น ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจาก การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถาม ทักษะในการสื่อสาร 3) แบบสอบถามขีดความสามารถด้านความปลอดภัย และ 4) แบบสอบถามการ จัดการความปลอดภัยของพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ได้ค่า ดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถาม (S-CVI) ส่วนที่ 2, 3 และ 4 เท่ากับ .80, .89 และ .88 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบราค ของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2, 3 และ 4 เท่ากับ .93, .93 และ .89 ตามลำดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะในการสื่อสาร ขีดความสามารถด้านความ ปลอดภัย และ การจัดการความปลอดภัยของพยาบาลประจำการโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) ทักษะในการ สื่อสาร และ ขีดความสามารถด้านความปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการความปลอดภัยของ พยาบาลประจำการในระดับปานกลาง และระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.42, 0.52 ตามลำดับ) (3) ทักษะในการสื่อสาร และขีดความสามารถด้านความปลอดภัยสามารถร่วมกันพยากรณ์การ จัดการความปลอดภัยของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 27.4 (R2 = .274)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย -- มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทักษะในการสื่อสาร ขีดความสามารถด้านความปลอดภัยกับการจัดการความปลอดภัยของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between communication skills, safety competency, and patient safety management of staff nurses at an Autonomous University Hospital in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to study communication skills safety competency, and the level of patient safety management, (2) to study relationships between communication skills, safety competency, and patient safety management, and (3) to explore factors predicting the patient safety management of staff nurses at an autonomous university hospital in Bangkok metropolis. The population of this study comprised 180 staff nurses who worked at In- patient units in an autonomous university hospital. The sample size was calculated by power analysis. They were selected by the stratified random sampling technique. Questionnaires, developed by the researcher, were used as research instruments consisting of four parts: personal data form, communication skills, safety competency, and patient safety management. Content validity was verified by five experts and the Scale - Content Validity Index were .80,89, and .88 respectively. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second to the fourth parts of questionnaires were .93, .93, and .89 respectively. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient and multiple regressions analysis. The research findings were as follows. (1) Staff nurses rated their communication skills, safety competency, and patient safety management at the high level. (2) There were significantly positive correlations between communication skills (r = 0.42, p < .05) and safety competency (r = 0.52, p < .05) with patient safety management at the moderate and the high level respectively, (3) Both communication skills and safety competency accounted for 27.4% of variance of patient safety management and of staff nurses (R2 = .274)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib138800.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons