Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2113
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสุ สุวรรณวิหคth_TH
dc.contributor.authorอธิวัฒน์ ลาภหลายth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T04:31:16Z-
dc.date.available2022-11-11T04:31:16Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2113en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการบริโภคเบียร์ในประเทศไทย และ 2) ศึกษาการดำเนินนโยบายและมาตรการภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการลดการบริโภคเบียร์ในประเทศไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วยทั้งการศึกษาเชิงปริมาณและการศึกษาเชิงคุณภาพ ส่วนของการศึกษาเชิงปริมาณใช้แบบจำลองสมการถดถอยพหุคูณ ตัวแปรในแบบจำลองอ้างอิงจากทฤษฎีอุปสงค์เป็นหลักและการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรตาม คือ ปริมาณการบริโภคเบียร์ในประเทศไทย ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ราคาตลาดเบียร์ รายได้ผู้บริโภค ราคาตลาดสุรา การบริโภคในอดีต ช่วงเวลาแต่ละไตรมาส และการใช้มาตรการของรัฐ ส่วนของการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเกี่ยวกับวิธีการและผลของการดำเนินนโยบายภาครัฐในช่วงเวลาที่ผ่านมา ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 ถึงปีงบประมาณ 2561 รวบรวมจากหน่วยงานของรัฐ กฎหมาย บทความในสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการบริโภคเบียร์ในประเทศไทย ณ ระดับนัยสำคัญ 0.01 ได้แก่ ราคาตลาดเบียร์ การบริโภคในอดีต และช่วงเวลาแต่ละไตรมาส และปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการบริโภคเบียร์ในประเทศไทย ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ รายได้ผู้บริโภค และการใช้มาตรการของรัฐบางมาตรการ โดยเมื่อรายได้ผู้บริโภคเพิ่มขึ้นและเมื่ออยู่ในช่วงไตรมาส 1 และ 4 ของปี จะทำให้ปริมาณการบริโภคเบียร์เพิ่มขึ้น แต่เมื่อราคาเบียร์เพิ่มขึ้น เมื่อไตรมาสก่อนมีอัตราการบริโภคเพิ่มขึ้น เมื่อภาครัฐใช้มาตรการทางภาษี และเมื่ออยู่ในช่วงไตรมาส 3 ของปี จะทำให้ปริมาณการบริโภคเบียร์ลดลง 2) การใช้มาตรการทางภาษีแต่ละครั้งได้ผลที่แตกต่างกันไป โดยการเพิ่มอัตราภาษีตามปริมาณจะทำให้ปริมาณการบริโภคเบียร์ลดลงได้ชัดเจนกว่าอัตราภาษีตามมูลค่า แต่มาตรการที่เพิ่มอัตราภาษีเพียงเล็กน้อยจะไม่สามารถลดปริมาณการบริโภคเบียร์ได้เนื่องจากอำนาจซื้อของผู้บริโภคลดลงไม่มากนักth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.วิชาเอกเศรษฐศาสตร์การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเบียร์th_TH
dc.subjectบริโภคกรรมแง่โภชนาการไทยth_TH
dc.subjectบริโภคกรรม (เศรษฐศาสตร์)ไทยth_TH
dc.subjectเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์แง่เศรษฐกิจไทยth_TH
dc.subjectการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์วิจัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการบริโภคเบียร์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the consumption of beer in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Objectives of this study were to 1) study factors affecting to the quantity of beer consumption in Thailand, and 2) study the government policies and measures in controlling beer consumption in Thailand.This study was designed by both quantitative and qualitative research. The multiple regression model was applied in the part of the quantitative research which the variables referenced from demand theory and literature review. The independent variables were the quantity of beer consumption in Thailand while the dependent variables were beer retail price, consumer income, spirits retail price, past consumption, quarterly period, and the enforcement from government measures. The part of qualitative research was descriptive research about methods and performances of government policies in the past period. The secondary data collected from the fiscal year 2009 to 2018 were composed of government statistics, laws, articles on printing media and internet. The research results showed that 1) the factors affecting beer consumption in Thailand at 0.01 level of significance consisted of beer market price, past consumption and quarterly periods. And the factors affecting beer consumption in Thailand at 0.05 level of significance consisted of consumer income and some government measures.Volume of beer consumption increased when the consumer income increased, and in the first or fourth quarter of the year. However, it decreased when the beer retail price increased, when beer consumption in previous quarter increased, when the government used tax measures and it decreased in the third quarter of the year. 2) Each of tax policies effected to the beer consumption in different level. A rising specific tax could reduce more volume of consumption than rising ad valorem tax. But just a little rising tax rate could not much decrease the beer consumption as it did not much disturb the consumer purchasing power.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161018.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons