Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2699
Title: กลยุทธ์การบริหารจัดการเครือข่ายด้านการตลาดข้าวหอมมะลิตรา "TK ทุ่งกุลาฟาร์ม" ของสหกรณ์การเกษตรเกษตรวิสัย จำกัด จังหวัดร้อยเอ็ด
Other Titles: Strategy of marketing network management of Thai Hom mali Rice under the Brand "TK Thung Kula Farm" of Kasetwisai Agricultural Cooperative Ltd
Authors: ปัญญา หิรัญรัศมี
นุชนาถ แก้วอุบล
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี
สหกรณ์การเกษตรเกษตรวิสัย--การบริหาร
ข้าวหอมมะลิ--การตลาด--ไทย--ร้อยเอ็ด
Issue Date: 2552
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์เพึ่อศึกษา (1) สภาพทั่วไปของสหกรณ์การเกษตรเกษตร วิสัย จำกัด (2) กลยุทธ์การบริหารจัดการเครือข่ายด้านการตลาดข่าวหอมมะลิดรา “TK ทุ่งกุลา ฟาร์ม” และ (3) ปัญหาและข่อเสนอแนะกลยุทธ์การบริหารจัดการเครือข่ายด้านการตลาดข่าวหอม มะลิตรา ‘‘TK ทุ่งกุลาฟาร์ม” ของสหกรณ์การเกษตรเกษตรวิสัย จำกัด รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก กับคณะกรรมการ แถะฝ่ายจัดการของสหกรณ์ รวมทั้งสหกรณ์ในเครือข่าย และข้อมูลทุติยภูมิที่ได้ จากรายงานกิจการประจำปีของสหกรณ์ เอกสารทางวิชาการ แนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง โดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยสหกรณ์การเกษตรเกษตรวิสัย จำกัด เป็นสหกรณ์แม่ข่ายในการดำเนินการ ต่าง ๆ และร่วมกันกำหนดตราสินค้าข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ ภายใต้ตราสินค้า ‘TK ทุ่งกุลา ฟาร์ม” มีกลยุทธ์ด้านการกำหนดราคาผลิตภัณฑ์คือ ราคาข้าวสารของสหกรณ์จะต่ำกว่าราคาข้าวสารของเอกชนประมาณ 30-40 บาทต่อถุง 5 กก. กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาดคือการโฆษณาการแจกเอกสารแผ่นผับ การจัดงานแสดงสินค้า การมีส่วนร่วมทางการบริหาร คือ สหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการทั้ง 6 สหกรณ์ ได้มีการประชุมเพื่อรับรู้มุมมองร่วมกันในการกำหนดวัตถุประสงค์ของการตั้งเครือข่ายผู้ผลิต ข้าวหอมมะลิตรา TK ทุ่งกุลาฟาร์ม มีการสร้างและบริหารตราสินค้าร่วมกัน ส่วน การพัฒนาบุคลากรของเครือข่าย คือ การอบรมให้ความรู้ในเรื่องการสร้างความเข้าใจ เรื่องตราสินค้า และการตลาด รวมทั้งการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ และปัญหาและ ข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ การกำหนดราคาไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และขาดงบประมาณในการ ส่งเสริมการขาย โดยมีแนวทางการแกัไขคือ การร่วมกันและตกลงกำหนดราคาให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน และจัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมการขายให้สอดคล้องกับยอดขายที่ต้องการ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2699
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130396.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons