Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล จตุพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรษา สร้อยยอดทอง, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-16T08:11:09Z-
dc.date.available2023-01-16T08:11:09Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2714-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์อุปทานพืชอาหารสัตว์ และ (2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปทานพืชอาหารสัตว์ในประเทศไทย ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และถั่วเหลือง ข้อมูลที่ใช้คืออนุกรมเวลารายปี เริ่มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2500 - 2561 รวมข้อมูลทั้งสิ้น 61 ปี และวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลองการถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธีการลดรูปตัวแปร ทั้งนี้ ได้พิจารณาปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ตัวประมาณค่ากำลังสองน้อยที่สุดแบบทั่วไป ได้แก่ ความสัมพันธ์เชิง เส้นตรงของแปรอิสระสูงเกินไป ตัวคลาดเคลื่อนมีความแปรปรวนไม่คงที่ และตัวคลาดเคลื่อนมี สหสัมพันธ์ระหว่างกัน ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า (1) การผลิตปศุสัตว์ของประเทศไทยมีแนวโน้มขยายตัวขึ้นตาม ความต้องการบริโภคสินค้าและผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์จากตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ ส่งผล ให้ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเหลืองเพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์เพิ่ม สูงขึ้นตามไปด้วย (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลและขนาดของผลกระทบต่ออุปทานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 0.406) ราคาถั่วเหลืองในปีที่ผ่านมา (ร้อยละ - 0.288) พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ 0.971) การผลิตสุกร (ร้อยละ 0.163) และการผลิตไก่เนื้อ (ร้อย ละ 0.391) โดยตัวแบบที่ประมาณการขึ้นสามารถอธิบายอุปทานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย ได้ถึง ร้อยละ 97.582 สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลและขนาดของผลกระทบต่ออุปทานถั่วเหลือง ได้แก่ ราคาถั่วเหลืองในปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 0.209) พื้นที่ปลูกถั่วเหลือง (ร้อยละ 1.024) พื้นที่ปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ -0.096) และการผลิตสุกร (ร้อยละ 0.293) โดยตัวแบบที่ประมาณการขึ้นสามารถ อธิบายอุปทานถั่วเหลืองในประเทศไทยได้ถึง ร้อยละ 98.894th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectอาหารสัตว์ -- อุปทานและอุปสงค์th_TH
dc.subjectพืชอาหารสัตว์ -- อุปทานและอุปสงค์th_TH
dc.subjectข้าวโพดth_TH
dc.subjectถั่วเหลืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปทานพืชอาหารสัตว์ในประเทศไทย : กรณีศึกษาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเหลืองth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing supply of feedstuff crops in Thailand : a case study of maize and soybeanth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) study the situation of supply of feedstuff crops, and (2) analyze the factors influencing the supply of feedstuff crops in Thailand namely maize and soybean. The annual time series was employed from 1957 to 2018 (a total of 61 years) using multiple regression models based on backward elimination. The ordinary least squares estimation was thoroughly considered for possible problems such as multicollinearity, heteroskedasticity, and autocorrelation respectively. The results found that (1) the production of livestock in Thailand is likely to increase according to the demand for livestock products from the domestic and international markets, resulting in an increase in the demand for maize and soybean as raw materials for feedstuff (animal feed) production. (2) The factors influencing the supply of maize including the impact size were maize price in the previous year (0.406%), soybean price in the previous year (- 0.288%), planted area of maize (0.971%), pig production (0.163%), and broiler production (0.391%). The estimated model can explain the supply of maize in Thailand up to 97.582%. The factors influencing the supply of soybean including the impact size were soybean price in the previous year (0.209%), planted area of soybean (1.024%), planted area of maize (-0.096%), and pig production (0.293%). The estimated model can explain the supply of soybean in Thailand up to 98.894%en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161997.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons