Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2787
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริพร สัจจานันท์ | th_TH |
dc.contributor.author | สหทัย พันธมาศ, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-24T01:25:46Z | - |
dc.date.available | 2023-01-24T01:25:46Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2787 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินมูลค่าที่เกิดจากการใซัป่าชุมชนบ้านดงยาง และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการพื่นฟูและอนุรักษ์ป่าชุมชนบ้านดงยางการดำเนินการวิจัยใช้วิธีการประเมินมูลค่าโดยวิธีเหตุการณ์สมมติ สำรวจข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ประโยชน์ที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านดงยาง ค่าบลก่อเอ้ ค่าเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 155 ราย ใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดที่เป็นการเสนอราคาเพียงครั้งเดียวเป็นเครื่องมือการ วิจัย เพื่อหามูลค่าความเต็มใจที่จะจ่าย โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 5 กลุ่มตามราคาที่สอบถามความเต็มใจที่จะจ่ายและนำข้อมูลที่ไดัมาวิเคราะห์มูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเฉลี่ยและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจโดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองโลจิท ผลการศึกษาพบว่า 1) หากมีการจัดตั้งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชุมชน ประชาชนส่วนใหญ่จะให้การสนับสนุนถ้ากำหนดให้จ่ายค่าธรรมเนียมสมทบกองทุน จำนวน 30 บาท ต่อเดือนต่อครัวเรือน และเมื่อคุณกับจำนวนครัวเรือนในชุมชนจะมีมูลค่าที่สามารถระดมทุนได้เท่ากับ 89,640 บาทต่อปี ในขณะที่ผลการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิท พบว่ามูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเฉลี่ย ที่คำนวณโดยวิธีพาราเมตริกช์มีค่าเท่ากับ 8.24 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน หรือมีค่าความเต็มใจที่จะ จ่ายรวมของประชาชนในชุมชนเท่ากับ 24,621.12 บาทต่อปี 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจที่จะจ่ายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 มี 3 ปัจจัย คือ รายได้ครัวเรือน สถานภาพการสมรส และราคาที่สอบถามความเต็มใจที่จะจ่าย และมีค่าสัมประสิทธิ์เป็นไปตามที่คาดหวัง กล่าวคือ ค่าสัมประสิทธิ์ตัวแปรรายได้และสถานภาพการสมรสมีค่าเป็นบวกแสดงให้เห็นว่าความเป็นไปได้ในการสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชุมชนจะมีค่าสูงขึ้นตามรายได้ที่เพิ่มขึ้นและสถานภาพการสมรสแล้ว ในขณะที่ราคาที่สอบถามความเต็มใจที่จะจ่ายมีค่าสัมประสิทธิ์เป็นลบซึ่งแสดงให้เห็นว่าถ้าราคาที่สอบถามความเต็มใจที่จะจ่ายมีค่าสูงขึ้น ความเป็นไปได้ที่ประชาชนจะสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนฯ จะมีค่าลดลง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ป่าชุมชน--ไทย--อุบลราชธานี | th_TH |
dc.subject | การฟื้นฟูป่า | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชุมชน : กรณีศึกษาป่าชุมชนบ้านดงยาง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Willingness to pay for community forest recovery and conservation : a case study of Dongyang Community Forest, Khaungnai district, Ubon Ratchathani province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to 1) evaluate contingent valuation resulting from the use of community forests, and 2) analyse the factors which influenced decision-making in supporting of community forest recovery and conservation of Ban Dong Yang Community Forest. The study employed contingent Valuation Method (CVM), to collect data from 155 users who were residents of the Ban Dongyang community, Kha-ae sub-district, Khaungnai District, Ubonratchatanee Province. Close-end Simgle Bid questions were used to investigate the mandatory payment. Samples were devided into five groups according to the bid prices. The logit model was employed to estimate the mean willingness to pay, and to analyse factors which influenced decision-making. The study results showed that 1) if there were the recovery and conservation community forest funds the people were likely to support to pay for the forest recovery and conservation. That is, if the fee to support funds was 30 baht/month/household multiply with. households in the community, the contingent funding will be 89,640 baht/year. When analyzing with Logit model, it found that the bid price was 8.24 baht/month/household or a total of community willingness to pay was 24,621.12 baht/year. 2) Factors influencing willingness to pay which were significant confidence level at 0.1 were income, marriage status, and the bid price.Coefficient signs of these variables conformed to prior expectations, That is, the positive coefficient signs for income indicated the higher probability to vote if favour of the policy as the income became higher, marriage status were to include and negative coefficient signs for bid price confirming that the higher the bid, the lower the probability that respondents would be willing to pay. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128384.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License