กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2824
ชื่อเรื่อง: ผลการจัดกิจกรรมคำคล้องจองที่มีต่อความสามารถทางการพูดภาษาไทยของเด็กปฐมวัยเผ่ากะเหรี่ยงในโรงเรียนบ้านแม่ตอละ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Effects of rhyming activities on Thai language speaking ability of Karan tribe preschool children in Ban Mae Tola School in Mae Hong Son Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ชนิพรรณ จาติเสถียร
เทียนสว่าง ศรีหมื่น, 2528-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน--ไทย--แม่ฮ่องสอน
การพูด--กิจกรรมการเรียนการสอน
ความสามารถทางภาษา--ไทย--แม่ฮ่องสอน
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการพูดภาษาไทยของเด็กปฐมวัยเผากะเหรี่ยง ในโรงเรียนบ้านแม่ตอละ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมคำคล้องจอง กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กปฐมวัยเผ่ากะเหรี่ยง ชายและหญิง อายุ 4-5 ปี จำนวน 10 คน ที่ศึกษาในชั้นอนุบาลปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านแม่ตอละ จังหวัดแม่ฮ่องสอนได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 1ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแผนการจัดกิจกรรมคำคล้องจอง และแบบทดสอบความสามารถทางการพูดภาษาไทยของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบโดย ใช้เครื่องหมาย ผลการวิจัยปรากฏวา เด็กปฐมวัยเผ่ากะเหรี่ยงในโรงเรียนบ้านแม่ตอละ จังหวัด แม่ฮ่องสอน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมคำคล้องจองมีความสามารถทางการพูดภาษาไทยหลังการจัด กิจกรรมสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2824
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_161984.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.04 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons