Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจมาศ วงศ์วาลย์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T06:26:33Z-
dc.date.available2023-01-27T06:26:33Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2866-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านมาตราตัวสะกด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนวัดโยธีราษฎร์ศรัทธาราม จังหวัดนครนายก ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านมาตราตัวสะกด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ระหว่างก่อน และหลังการใช้ชุดกิจกรรมการอ่านมาตราตัวสะกดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั่งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนวัดโยธีราษฎร์ศรัทธาราม จังหวัดนครนายก ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 23 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมการอ่านมาตรา ตัวสะกด จำนวน 8 ชุด (2) แผนการจัดการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการอ่าน (3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านมาตราตัวสะกด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที่ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมการอ่านมาตราตัวสะกดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ และ(2) นักเรียนมีความสามารถในการอ่านหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครนายกth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการอ่านที่มีต่อความสามารถในการอ่านมาตราตัวสะกดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดโยธีราษฎร์ศรัทธาราม จังหวัดนครนายกth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a reading activities with the ability to read a section spelling of Prathom Suksa II student at Wat Yothi Rat Sattha Ram School in Nakhon Nayok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a series of activities, reading, spelling section of Prathom Suksa ΙΙ Students at Wat Yothi Rat Sattha Ram School in Nakhon Nayok Province the efficiency. (2) to compare the ability to read a section spelling of Prathom Suksa ΙΙ Students at Wat Yothi Rat Sattha Ram School in Nakhon Nayok Province before and after the reading section spelling. The research sample consisted of 23 Prathom Suksa ΙΙ students studying at Wat Yothi Rat Sattha Ram School in Nakhon Nayok Province during the first semester of the 2016 academic year, Obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) The activity of reading, spelling, setion 8 sets (2) learning management plans using a reading activities,and (3) test the ability to read. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t – test. Research findings showed that (1) read with section spelling activity the researchers created a more efficient basis. (2) the effects of using a reading activities, the students post – learning significantly higher than its pre – learning counterpart at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_155952.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons