Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2896
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา แปงเพ็ชร, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T11:34:10Z-
dc.date.available2023-01-27T11:34:10Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2896-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคเหนือสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความที่สร้างขึ้นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่านและนักเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์ โครงการหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ (1) แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคเหนือ จำนวน 1 เรื่อง (2) แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นนักเรียนเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคเหนือ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาปรากฏว่า (1) แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคเหนือที่สร้างขึ้นมีจำนวน 1 เรื่อง ซึ่งแต่ละแบบฝึกจะประกอบด้วยกิจกรรม 7 กิจกรรม (2) ผลการตรวจสอบคุณภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ประเงินด้านลักษณะของ แบบฝึกและกิจกรรมในแบบฝึก มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 และในภาพรวมผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าแบบฝึกทักษะมีความหมาะสมมาก และ (3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความในภาพรวมเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการอ่านตีความ--แบบฝึกหัดth_TH
dc.subjectการอ่านตีความ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคเหนือสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3th_TH
dc.title.alternativeCreating reading comprehension skill exercises by using Northern folk tales for Prathom Suksa III students in Schools under Chiang Mai Primary Education Service Area Office 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to create reading comprehension skill exercises by using Northern folk tales for Prathom Suksa III students in schools under Chiang Mai Primary Education Service Area Office 3; and (2) to verify quality of the created reading comprehension skill exercises.The sample for quality verification consisted of three experts and 10 student of Debsirin School Royal Project under the Royal Patronage, obtained by purposive selection. The instruments for this study were (1) 15 reading comprehension skill exercises by using Northern folk tales; (2) an IOC assessment form for the experts, and (3) a questionnaire on student's opinions toward the reading comprehension skill exercises by using Northern folk tales. Statistics for data analysis were the IOC index, mean, and standard deviation. The findings of this study revealed that (1) the total number of 15 reading comprehension skill exercises had been created, each of which containing 7 activities; (2) as for results of quality verification of the reading comprehension skill exercises by the experts, the characteristics and activities for each exercise were assessed by the experts with the IOC ranging from 0.67 - 1.00; also, the experts had opinions that all of the exercises were appropriate at the high level; and (3) the studen:s had opinions that the reading comprehension skill exercises were appropriate at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161998.pdfเอกสารฉบับเต็ม35.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons