กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3278
ชื่อเรื่อง: | การละเมิดสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2557-2562 |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Human rights violation against migrant workers of Burmese nationality in Mae Taeng District Chiang Mai Province between 2014 - 2019 |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ยุทธพร อิสรชัย ณัฐนนท์ ปินคำ, 2528- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ |
คำสำคัญ: | สิทธิมนุษยชน--ไทย แรงงานต่างด้าว--ไทย การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง |
วันที่เผยแพร่: | 2562 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การศึกษารื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. เพื่อศึกษาถึงลักษณะการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนที่แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าประสบอยู่ ในเขตอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาอุปสรรคขัดขวางในการที่แรงงามต่างค้าวสัญชาติพม่าจะได้รับผลประโยชน์ตามสิทสิทธิมนุยชน และ 3. เพื่อเสนอแนะมาตรการที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยขนของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 5 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ กลุ่มที่ 1 แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ในพื้นที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มที่ 2 นายข้างในพื้นที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มที่ 3 เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว กลุ่มที่ 4 นักปกป้องสิทธิมนุษยชนในจังหวัดเชียงใหม่ และกลุ่มที่ 5 กำนัน/ผู้ใหญ่บ้านในอำเภอแตง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า การละเมิดสิทธิมนุษยยชนของแรงงานต่างด้าว อำเภอเมืองแม่แตง ยังคงมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่ เช่น 1.เรื่องค่าตอบแทน 2.เรื่องสวัสติการ แรงงานต่างด้าวบางส่วนที่ทำงานในสถานประกอบการขนาดเล็ก เช่น คนรับใช้ในบ้าน ทำงานมากกว่า & ชั่วโมงต่อวันและไม่มีค่าล่วงเวลา ตลอดอดจนสวัสติการใดๆ และสถานที่ทำงานบางแห่ง มีการทำงานที่เสี่ยงอันตราย โดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันให้ เช่น แรงงานก่อสร้าง และ 3.เรื่องความรุนแรง การด่าทออันเกิดจากชาตินิยมของคนไทย ในส่วนของกลไกของรัฐ ไทยและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว มีความสอดดล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนและหลักสิทธิแรงงาน แต่ในทางปฏิบัติยังไม่สามารถใช้ได้ผล เนื่องจากในสถามประกอบการบางแห่ง โดยเฉพาะสถานประกอบการขนาดเล็กนายข้างมักจะเป็นเข้าของคนๆ เดียว และมีอำนาจตัดสินใจในการบริหารงาน รัฐตรวจสอบได้ยาก จึงนำไปสู่การละเมิดสิทธิมนุษยชนในที่สุด |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3278 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Pol-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
164578.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.81 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License