Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3355
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยฉัตร ล้อมชวการ | th_TH |
dc.contributor.author | ชนาทิพย์ ยินดี, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-16T07:14:09Z | - |
dc.date.available | 2023-02-16T07:14:09Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3355 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการรับชมยูทูบเบอร์ประเทศไทยของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นแซด 2) การรับรู้ภาพลักษณ์ของยูทูบเบอร์ประเทศไทยของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นแซด การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มคนเจนเนอเรชั่นแซดที่เคยรับชมช่องยูทูบอาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 400 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการรับชมยูทูบเบอร์ประเทศไทยของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นแซด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 19 - 21 ปี มีการศึกษาในระดับอุดมศึกษารับชมสื่อยูทูบที่มีการนำเสนอโดยยูทูบเบอร์ร้อยละ 93.00 มีพฤติกรรมการรับชมยูทูบเบอร์ประเภทรายการและเนื้อหาในรูปแบบของรีวิว การแนะนำวิธีการ การนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบของตลก การนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบของเพลงที่ตนชื่นชอบ มีความถี่ในการเปิดรับข้อมูลข่าวสารทุกวัน วันละ 3-4 ชั่วโมงต่อครั้ง 2) การรับรู้ภาพลักษณ์ของยูทูบเบอร์ประเทศไทยของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นแซด พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการรับรู้ภาพลักษณ์ทบเบอร์ในด้านต่าง ๆ ตามลำดับ คือ (1) ด้านการรับรู้ปรากฏการณ์ทางสังคม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ความเฉลียวฉลาด ทัศนคติ และมีความคิดเห็นเป็นของตนในเนื้อหาต่าง ๆ ที่นำมาเสนอเป็นอย่างดี และเปิดรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้ชม (2) ด้านการรับรู้ลักษณะของบุคคล มีความหน้าเชื่อถือ มีบุคลิกภาพ รูปร่างหน้าตา และเป็นที่ชื่นชอบของผู้ชม (3) ด้านการรับรู้ภาพพจน์ของกลุ่มบุคคล มีความคิดในทางบวกกับยูทูบเบอร์ที่ตนชื่นชอบ (4) ด้านการรับรู้ทางอารมณ์ การสร้างแรงบันดาลใจทำให้ผู้ชมอยากเป็นยูทูบเบอร์ เป็นแบบอย่างในการใช้ชีวิตของกลุ่มตัวอย่าง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ยูทูบ--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การรับรู้ภาพลักษณ์ยูทูบเบอร์ประเทศไทยผ่านสื่อยูทูบของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นแซด | th_TH |
dc.title.alternative | Image perceptions of Thai youtubers on youtube through the views of Generation Z group | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) Generation Z group behavior in viewing Thai Youtubers; and 2) Generation Z group perception of the image of Thai Youtubers. This was a survey research. The sample population was four hundred residents of the greater Bangkok metropolitan area who watched Youtube. The samples were chosen through multi-level sampling. The research tool was a questionnaire. Data were analyzed by the descriptive statistics of percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) the majority of the samples were female, in the 19-21 age group, educated to the higher education level, and 93.00 % watched Youtube programs made by Youtubers. They mainly watched reviews, tutorials, comedy programs and music. The majority of samples reported watching Youtube every day for 3-4 hours at a time. 2) As for the survey respondents’ perception of the image of Thai Youtubers: (1) perceptions of social phenomena – they thought Thai Youtubers were knowledgeable, capable, experienced, clever, had their own attitudes and well-articulated opinions about the subjects they presented, and they were willing to listen to comments from viewers; (2) perceptions of personality – they thought Thai Youtubers were credible, had good personalities and had presentable figures and faces that were pleasing to their viewers; (3) perceptions of their image as a group – survey respondents had positive ideas about Youtubers they liked; (4) affective perceptions – survey respondents said Thai Youtubers inspired their viewers and made them want to be Youtubers too, and they were role models for how to live your life | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License