Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3377
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคอลีเยาะ สุหลง, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-16T08:09:40Z-
dc.date.available2023-02-16T08:09:40Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3377-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาวะทั่วไปของนักท่องเที่ยวที่บริโภคผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนในจังหวัดปัตตานี 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจและความต้องการของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนในจังหวัดปัตตานี 3) เพื่อหาปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวน 4) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวน 5) เสนอแนะแนวทางการผลิตลูกหยีกวนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ผลการวิจัยพบว่า 1) ลักษณะทั่วไปของนักท่องเที่ยวที่บริโภคผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง ร้อยละ 70.16 มีอายุัูระหว่าง 20 - 29 ปี มากที่สุด ระดับการศึกษาปริญญาตรีมากที่สุด โดยมีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 5000 บาท และสมาชิกในครัวเรือน 5 -6 คนมากที่สุดที่นิยมบริโภคลูกหยีกวน 2) ผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวน โดยภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนมากที่สุด คือรสชาติ ส่วนความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวันที่อยู่ในลำดับท้ายสุด คือความชัดเจนของป้ายแสดงราคา 3) ปัจจัยที่มีสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวน คือจำนวนสมาชิกในครอบครัวมีผลการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสมาชิกในครอบครัวมากตั้งแต่ 5 คน ขึ้นไป ให้ความสำคัญปัจจัยด้านคุณภาพในการตัดสินใจเลือกร้านค้าเพื่อซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนมากกว่าผู้บริโภคที่มีจำนวนสมาชิกในครอบครัวน้อย ตั้งแต่ 4 คนลงมา 4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของผู้บริโภค พบว่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับสภาพที่ๆ ซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนพบว่า ผู้บริโภคที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่ 20,000 บาท จะซื้อผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนจากร้านขายของฝาก/ของที่ระลึก มากกว่ากิลุ่มรายได้อื่น ๆ 5) ข้อเสนอแนะสำหรับ ผู้ผลิตลูกหยีกวน ในส่วนผลิตภัณฑ์ควรมีข้อความบอกถึง คุณประโยชน์ของลูกหียตลอดจนคุณค่าทางโภชนาการให้ชัดเจนจะทำให้ผู้บริโภคมีความสนใจ และเพิ่มมูลค่าในตัวผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.156-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectลูกหยีกวนth_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ลูกหยีกวนของนักท่องเที่ยวในจังหวัดปัตตานีth_TH
dc.title.alternativeDried velvet tamarind consuming behavior of the tourists in Pattani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.156-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to 1) study the general condition of the tourists who consume dried velvet tamarind (Dialium indum) products in Pattani Province; 2) study the consumers' satisfaction with and demand for Pattani dried velvet tamarind products; 3) find important factors that influence tourists’ decisions to buy dried velvet tamarind products; 4) study the relationship between consumers’ personal factors and their buying behavior; and 5) suggestion dried velvet tamarind products that will meet the target buyers' needs. The research method was a survey. Population were tourists to Pattani Province between October-November 2014 in which questionnaires were distributed to a sample of 400 tourists visiting Pattani. Sample was selected by accidental technique. The statistical methods used in the analysis are average, percentage, standard deviation, and Chi-square test. The research reveals that 1) most tourists who consume dried velvet tamarind products are women, aged between 20-29 years old and have Bachelor degrees, earn on average less than 5,000 Baht a month, and have about 5-6 family members that consume the products. 2) Generally, consumers are quite satisfied with the products, they love the taste the most, and the least satisfaction with the products is the visibility of the price tag. 3) The important factors that can influence the buyers' decision were the members of the family; families with more than 5 members pay more attention at the quality of the products than families with less members. 4) The research on the relation of monthly income and buying condition showed that buyers with more than 20,000 Baht salary are likely to buy the products from souvenir shops more than others. 5) The suggestion for the velvet tamarind producers were that there should have clear tags on the products that explain the benefits and nutritive values of velvet tamarind which could attract more tourists and increased the value of productsen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147562.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons