กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3677
ชื่อเรื่อง: | การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยศึกษาสำหรับครูปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Development of a self-training package on science process skills at early childhood education level for preschool teachers in schools under Si Sa Ket Primary Education Service Area Office 4 |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | อรุณี หรดาล พิมพ์นิภา ศรีสุแล, 2514- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี ครู--การฝึกอบรมในงาน วิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน |
วันที่เผยแพร่: | 2557 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการดำาเนินการเกี่ยวกับทศนิยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดยาง จังหวัด เพชรบุรี ระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตพลวัต และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับทศนิยมของ นักเรียนดังกล่าวหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตกับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 คนที่ โรงเรียนวัดยาง จังหวัดเพชรบุรี โดยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการ จัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับ ทศนิยม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดยาง มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับทศนิยมโดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนดังกล่าวมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับทศนิยม หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ โปรแกรมเรขาคณิตพลวัต สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3677 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_146439.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 33.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License