Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารี มีอินทร์เกิด มีสิทธิ์th_TH
dc.contributor.authorจุฑามาศ เพชรเปล่งสี, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T08:54:19Z-
dc.date.available2023-03-09T08:54:19Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3923en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับ การดำเนินคดีอาญาเด็กและเยาวชน การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเด็กและเยาวชน (2) ศึกษาบทบัญญัติ หลักเกณฑ์ เงื่อนไขทางกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาเด็กและเยาวชน ทั้งในส่วนของประเทศไทยและต่างประเทศ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมาย เกี่ยวกับการบังคับใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติดตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 (4) ศึกษาแนวทางในการน้ามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากการศึกษาค้นคว้าตำรา สารนิพนธ์ บทความ วารสาร ตัวบทกฎหมาย ค้าพิพากษาของศาล ข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเอกสารวิชาการทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวม ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาท้าการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาปัญหาการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาในการกระทำผิดซ้ำคดียาเสพติด กรณีศึกษาเฉพาะในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปทุมธานี พบว่า (1) ศาลมีการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีในการกระทำผิดซ้ำคดียาเสพติดค่อนข้างน้อย ท้าให้เด็กและเยาวชนไม่ได้รับโอกาสในการเข้าสู่กระบวนการแก้ไขบำบัดฟื้นฟู (2) ปัญหาการสำนึกในการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนทั้งในส่วนของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์, เครือรัฐออสเตรเลียและประเทศไทยล้วนมีหลักเกณฑ์ เงื่อนไขการสำนึกผิดไว้ในขั้นตอนของการประชุมกลุ่มครอบครัว โดยประเทศไทยการสำนึกในการกระทำผิดนั้นเป็นสิ่งที่ไม่อาจบ่งชี้ได้ชัดแจ้งว่าขนาดใดเพียงใดที่จะถือเป็นการสำนึกผิดอย่างแท้จริง (3) การให้ความยินยอมของผู้เสียหายในคดียาเสพติดที่ไม่อาจใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มาตรา 90 (4) การใช้ดุลพินิจของศาลที่เคร่งครัดเกินไปในการพิพากษาตัดสินลงโทษในคดียาเสพติดมากกว่าการให้โอกาสเด็กและเยาวชนได้ใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา จึงควรให้มีการน้ามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญามาใช้ในการกระทำผิดซ้ำคดียาเสพติดให้มากเพื่อเป็นการแก้ไขฟื้นฟูมากกว่าการลงโทษth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกฎหมายยาเสพติดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีในการกระทำผิดซ้ำคดียาเสพติด กรณี : ศึกษาเฉพาะในศาลเยาวชนและครอบครัว จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeProblems of special measure applied to proceedings recidivism in drug case: case study of the Pathum-Thai Provincial Juvenile and Family Courten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to (1) Study the principles, concepts and theories concerning juvenile criminal proceedings. Protection of rights and liberties of children and youth. (2) Study the provisions, rules, and conditions on special measures in place of juvenile criminal cases proceedings Both in Thailand and abroad. (3) Study legal problems and obstacles Concerning the enforcement of special measures instead of recurring juvenile crimes in drug offenses According to the Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Procedure Act 2010. (4) Study ways to effectively apply special measures instead of criminal proceedings. This independent study is a qualitative study using document research methods from textbook research, thesis, articles, journals, legal provisions, court verdicts. Formation from electronic media and academic documents, both in Thai and foreign languages, to gather all the obtained data for systematic study, analysis, synthesis and compiling. Results of the study on the problem of using special measures applied to proceedings recidivism in drug cases : Case study of the Pathum-Thani Provincial Juvenile and Family Court found that (1) The court has used relatively few measures in place of recidivism in drug offense . And the children and youth were not given the opportunity to enter the rehabilitation process. (2) Problems of realization of the wrongdoing of children and youth in the Kingdom of New Zealand, The Commonwealth of Australia and Thailand all have rules conditions for repentance at the stage of a family group meeting. In Thailand, the realization of the wrongdoing of children. The youth who cannot make a clear indication of the extent to which it is truly considered guilt.(3) Giving the consent of the victims in drug case that cannot take special measures in place of the criminal proceedings According to the Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Procedure Act 2010, Section 90. (4) The use of too strict judgment in judicial decisions in drug cases rather than providing opportunities for children and youth to take special measures instead of criminal proceedings. Therefore, special measures should be introduced instead of criminal proceedings to be used for recurring drug offenses, rather than punishment.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166513_จุฑามาศ เพชรเปล่งสี.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons