Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมณีรัตน์ เพ็งไชโย, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T02:19:56Z-
dc.date.available2023-03-14T02:19:56Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4163-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระ เรื่อง การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของผู้ดำรงทางการเมือง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของผู้ดำรงตำแหน่งในทางการเมือง ตลอดจนศึกษาเปรียบเทียบกับกระบวนการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของผู้ดำรงตำแหน่งในทางการเมืองและผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และสภาพปัญหาองค์กรผู้ทำหน้าที่ในการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงข้อสรุปที่เป็นแนวทางในการกำหนดรูปแบบองค์กรผู้ทำหน้าที่ในการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของประเทศไทยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพจากเอกสาร โดยเป็นการศึกษาจากตำราทางวิชาการในทางกฎหมายมหาชน การเมืองการปกครองเป็นหลัก โดยวิเคราะห์จากเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ข้อมูลจากเว็บไซต์ ทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ประกอบกับข้อมูลที่ผู้วิจัยได้รับจากประสบการณ์ตรงในการทำงานมาประกอบเป็นหลักฐานในการอ้างอิงมาวิเคราะห์ศึกษาเปรียบเทียบกับแนวคิดของต่างประเทศเพื่อให้ทราบถึงผลสรุปของการวิจัยและแนวทางการปรับปรุงปัญหาเรื่องดังกล่าว ซึ่งผู้ศึกษามั่นใจว่าข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าเป็นข้อมูลที่แท้จริงและถูกต้องน่าเชื่อถือได้ ผลการศึกษาพบว่าปัญหาที่นำไปสู่ความล้มเหลวในการควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในกระบวนการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งที่ไม่สามารถถ่วงดุลการใช้อำนาจรัฐ ทั้ง 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลการ ระหว่างด้วยกันเองได้ รวมถึงไม่สามารถนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษหรือขับออกจากตำแหน่งได้ โดยมาจากปัญหาหลัก คือ “การกำหนดองค์กรและกระบวนการ การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” ดังนั้น เพื่อให้การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของประเทศไทยสามารถที่จะควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจของบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญที่อยู่ ในฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีรูปแบบและกระบวนการที่ชัดเจน ผู้ศึกษาเสนอแนะแนวทางให้มีการปรับปรุงองค์กรผู้ทำหน้าที่ในการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งขึ้นใหม่โดยใช้รูปแบบ “ศาลพิเศษ” เรียกว่า “ศาลอาญาแห่งรัฐสภา” และการลงมติในการถอดถอนบุคคลให้ใช้คะแนนเสียงกึ่งหนึ่งขึ้นไปขององค์คณะตุลาการ หรือให้มีการรวมอำนาจการถอดถอนบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองไว้ที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ทั้งนี้ เพื่อให้กระบวนการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งเป็นมาตรการที่สำคัญที่ทำให้บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ตระหนักทุกครั้งที่ใช้อำนาจรัฐในการปฏิบัติหน้าที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการถอดถอนจากตำแหน่งth_TH
dc.subjectนักการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองth_TH
dc.title.alternativeRemoval of a person holding a oolitical position from officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent research was to study concepts and theories about the removal of a person holding political position. The study includes a comparison of the removal procedural of a person holding political position and the procedural of removing a high-level person holding position in the independent constitutional organization from office. It also includes to study the problems of the organizations, which is use a power to removal of a person from office in other countries, especially in the USA and France. The aim of this independent research is to be known and understand of the conclusion to be a direction for customize a format of an organization, which is use a power to removal of a person from office of Thailand, so that such cases can be appropriately and efficiently. This independent research was a documentary research, using qualitative research methods from document, which is textbooks on public law and administration, analyzing both Thai document sources and other language document sources. In addition, data were searched on the Internet and taken from the life experience of the researcher to be an evidence to refer. The researcher analyzed and compared the other country concepts to bring to a conclusion of this research and the guidelines to solve problems, including to improved the guidelines for the efficiency. The researcher is certain that the data analyzed were accurate and credible. The study found that there has been a failure to control and in the examination of the exercise of a person holding political position who is use a power to removal a person from office, whom is unable counterbalance between the legislative, the executive and the judiciary, and also in case the process is unable bring offenders to punish in judicial process or removing a person from office. The main problem is ‘The expropriation of organization and the removal procedural of a person holding political position’ For the efficient system of the procedural of removing a person from office in Thailand an examine of a person who is in the legislative, the executive and the judiciary, and also a clear of working process. The researcher has a recommendation to improved the guidelines to be better by establish a “special court” created called the “Parliamentary Criminal Court” and a resolution on remove a person from office should require the approval of at least a simple majority of the justices on the court Or a combination of the power to remove such persons. The political position on the Supreme Court's Criminal Division for Holders of Political Positions According to that reason, the procedural of removing a person from office is an important measure to a person holding political position who is use a power to removal of a person from office must be aware of using a powers of state in the performance of dutiesen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons