Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4238
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จกนก เอื้อวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิชิตา ดุลยปวีณ, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T08:14:33Z-
dc.date.available2023-03-14T08:14:33Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4238-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความเครียดของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา (2) เปรียบเทียบระดับความเครียดของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา โดยจำแนกตามเพศ ประสบการณ์การบริหาร ขนาดของสถานศึกษา และที่ตั้งของสถานศึกษาแบ่งตามสถาน การณ์ความไม่สงบ และ (3) ศึกษาสาเหตุและแนวทางการจัดการความเครียดของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลากลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลาปีการศึกษา 2555 จำนวน 140 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบทดสอบสุขภาพจิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา ระดับความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีเพศต่างกัน มีประสบการณ์การบริหารต่างกัน และที่ตั้งของสถานศึกษาแบ่งตามสถานการณ์ความไม่สงบแตกต่างกัน มีระดับความเครียดไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้บริหารสถานศึกษาที่บริหารในสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกันมีระดับความเครียดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระตับสถิติ .01 โดยผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กและขนาดกลางมีระดับความเครียดสูงกว่าผู้บริหารสถานศึกษาขนาดใหญ่ และ(3) สาเหตุที่ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษามีความเครียด คือ ความคาดหวังกับงาน ความเครียดจาก ผู้ใด้บังคับบัญชา การบริหารภายในองค์กร และนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดตามลำดับ และแนวทางจัดการกับความเครียดของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพี้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลาส่วนใหญ่คือการออกกำลังกาย การพูดระบายกับคนใกล้ชิด การทำงานอดิเรก และเปลี่ยนบรรยากาศโดยการออกนอกพื้นที่ชั่วคราวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความเครียดของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลาth_TH
dc.title.alternativeThe stress of school administrators under The Offices of Yala Primary Education Service Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to: (1) study the level of stress of school administrators under the Offices of Yala Primary Education Service Area; (2) compare the levels of stress of school administrators under the Offices of Yala Primary Education Service Area, classified by gender, administration experience, school size, and location of the school in the peaceful or non-peaceful local areas: and (3) study the causes of stress and the approaches to manage the stress of school administrators under the Offices of Yala Primary Education Service Area. The sample consisted of 140 school administrators under the Offices of Yala Primary Education Service Area during the 2012 academic year, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed data collecting instillment was the Mental Health Assessment Scale. The statistics employed for data analysis included the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test. and one-way ANOVA. The research findings revealed that (1) the overall stress of school administrators under the Offices of Yala Primary Education Service Area was at the moderate level; (2) school administrators with different genders, administration experiences, locations of school in peacefill or non-peacefill local areas did not differ significantly in their levels of stress; while school administrators of schools of different sizes differed significantly in their levels of stress at the .01 level, with small and medium-sized school administrators having the stress levels significantly higher than that of large school administrators; and (3) the causes of stress of school administrators were the following: job expectation, subordinates’ work performance, administration within the organization, and policy of the supervisory work unit, respectively; as for the approaches employed for stress management, the majority of school administrators employed the physical exercises, confiding with close colleagues, taking up hobbies, and temporarily changes of scenery.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
full_text132459.pdf12.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons