Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4357
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เข็มทอง ศิริแสงเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | มุทิตา ไหลหรั่ง, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T06:54:58Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T06:54:58Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4357 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสมรรถนะด้านการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ และ (2) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ทียึดผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถประชากรในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ และ ครูรวม 75 คน เครี่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ และข้อมูลจากแบบ สอบถามปลายเปิด ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบ สอบถามใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยมีดังนี้ (1) ผลจากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้บริหารมีสมรรถนะสูงในการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญครบทั้ง 6 ด้าน สอดคล้องกับผลจากแบบสอบถามที่พบว่าผู้บริหารมีสมรรถนะด้านการบริหารการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านค่านิยม ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านทักษะ ด้านบทบาททางสังคม ด้านความรู้ความเข้าใจ และด้านภาวะผู้นำ และ (2) ปัญหาเกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหาร พบว่าผู้บริหารไม่สามารถถ่ายทอดความรู้หรือสาธิตวิธีการสอน ไม่มีรางวัลหรือแรงจูงใจให้แก่ครู และมีความคาดหวังสูงเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ข้อเสนอแนะ ได้แก่ผู้บริหารควรสาธิตการสอนเพื่อเป็นตัวอย่างให้แก่ครู ควรให้การยกย่องครู อำนวยความสะดวกและให้กำลังใจแก่ครูในการจัดการเรียนรู้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | สมรรถนะด้านการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารกรณีศึกษาโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ | th_TH |
dc.title.alternative | Administrator's competencies in learner-centered learning management : a case study of Her Majesty queen Sirikit 60 Birthday Anniversary School, Nonthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were as follows: (1) to study the competencies in learner-centered learning management of the administrator of Her Majesty Queen Sirikit 60* Birthday Anniversary School; and (2) to study the problems and the suggestions concerning the competencies in learner-centered learning management of the administrator of Her Majesty Queen Sirikit 60th Birthday Anniversary School. The research population totaling 75 school personnel comprised heads of eight learning areas and 67 teachers. The employed research instruments were a structured interview form and a questionnaire developed by the researcher. The questionnaire had reliability coefficient of .89. Data obtained from the interviews and the open-ended questionnaire items were analyzed with content analysis; while quantitative data obtained from the questionnaire were statistically analyzed using arithmetic mean and standard deviation. Research findings were as follows: (1) findings from the interview's revealed that the administrator had high level of competencies in all six dimensions of the learner-centered learning management, which were in accord with the findings from the questionnaire that the administrator had high level of overall and each dimension of competencies in learner-centered learning management; the dimension competencies could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: core value, achievement motivation, skills, social role, knowledge and understanding, and leadership, respectively; and (2) the problems concerning the competencies in learner-centered learning management of the administrator were the following: the administrator could not teach or demonstrate teaching methods, had no rewards or incentives for teachers, and had too much high expectancy for students’ achievement; and the suggestions were that the administrator should demonstrate examples of teaching methods for teachers, give praises and commends to teachers, facilitate and provide moral support to teachers in undertaking their learning management. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_145425.pdf | 10.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License