Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพิชาติ เกษเรือง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัศมี เทียนวิจิตร, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T11:56:46Z-
dc.date.available2022-08-10T11:56:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/453-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตกประสงค์เพื่อ (1)พัฒนาชูดฝึกอบรมแบบอึงประสบการณ์เรื่องภาษีเงินไต้บุคคลธรรมดาสำหรับเจ้าหน้าที่ตรวจแบบแสดงรายการภาษี กรมสรรพากร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนจากชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ และ (3)ศึกษาความคิดเห็นในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนจากชูดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์กสุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพของชูดฝึกอบรม คือ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา จำนวน 43 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3 หน่วยประสบการณ์ คือหน่วยประสบการณ์ที่ 1 การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หน่วยประสบการณ์ที่ 3 การสำรวจประเภทและแหล่งเงินได้พึงประเมินและหน่วยประสบการณ์ที่ 10 การตรวจแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (2) แบบทดสอบก่อนและหลังการเผชิญประสบการณ์เป็นแบบคู่ขนาน และ (3)แบบสอบถามความคืดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชูดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปหาประสิทธิภาพโดยทดลองเบื้องต้น 3 ขั้นตอน คือ แบบเดี่ยว แบบกสุ่ม และแบบภาคสนาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การหาประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรม E/E 2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิขัยพบว่า (1) ชุดฟิกอบรมแบบอิงประสบการณ์ที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสทธภาพตามลำดับ ดังนี้80.33/81.00 80.00/80.67 และ 81.67/80.00 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ผู้รับการฝืกอบรมที่เรียนจากชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าในการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผูรับการฝึกอบรมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.55-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษีเงินได้--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการฝึกอบรม--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเจ้าหน้าที่ตรวจแบบแสดงรายการภาษี กรมสรรพากรth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of experience based training packages on personal income tax for tax return verified offficers of the Revenue Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.55-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) develop experience based training packages on Personal Income Tax up to the specific requirement for tax return verified officers of the Revenue Department to meet the efficiency standard; (2) investigate the learning progress of trainees learning form the experience based training packages; and (3) investigate the trainees’ opinions concerning experience based training packages. The sample used in the study consisted of 43 area revenue branch officers. They were multi stage random. The instruments used were (1) three experience based training units on Personal Income Tax, namely, Unit 1 : Submission of the Personal Income Tax Form, Unit 2 : Classification and Sources of Assessible Incomes, Unit 3 : Income Tax Verification; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-and post-testing; and (3) the questionnaires to investigate the trainees’ opinions on the appropriateness of the experience based training packages. The data collecting procedure started with single try out, followed by small group try out and finally field try out. The statistics used were the E1/E2, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the efficiency of the three experience based training packages were 80.33/81.00, 80.00/80.67, and 81.67/80.00; (2) the achievement of trainees’ post-test was significantly higher than that of the pre-test at the .05 level; and (3) the trainees rated the appropriateness of experience based training packages at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82099.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons