กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/453
ชื่อเรื่อง: | การพัฒนาชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเจ้าหน้าที่ตรวจแบบแสดงรายการภาษี กรมสรรพากร |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Development of experience based training packages on personal income tax for tax return verified offficers of the Revenue Department |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา วาสนา ทวีกุลทรัพย, อาจารย์ที่ปรึกษา พิชาติ เกษเรือง, อาจารย์ที่ปรึกษา รัศมี เทียนวิจิตร, 2498- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์ ภาษีเงินได้--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน การฝึกอบรม--การสอนด้วยสื่อ |
วันที่เผยแพร่: | 2546 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตกประสงค์เพื่อ (1)พัฒนาชูดฝึกอบรมแบบอึงประสบการณ์เรื่องภาษีเงินไต้บุคคลธรรมดาสำหรับเจ้าหน้าที่ตรวจแบบแสดงรายการภาษี กรมสรรพากร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนจากชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ และ (3)ศึกษาความคิดเห็นในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนจากชูดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์กสุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพของชูดฝึกอบรม คือ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา จำนวน 43 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3 หน่วยประสบการณ์ คือหน่วยประสบการณ์ที่ 1 การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หน่วยประสบการณ์ที่ 3 การสำรวจประเภทและแหล่งเงินได้พึงประเมินและหน่วยประสบการณ์ที่ 10 การตรวจแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (2) แบบทดสอบก่อนและหลังการเผชิญประสบการณ์เป็นแบบคู่ขนาน และ (3)แบบสอบถามความคืดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชูดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปหาประสิทธิภาพโดยทดลองเบื้องต้น 3 ขั้นตอน คือ แบบเดี่ยว แบบกสุ่ม และแบบภาคสนาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การหาประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรม E/E 2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิขัยพบว่า (1) ชุดฟิกอบรมแบบอิงประสบการณ์ที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสทธภาพตามลำดับ ดังนี้80.33/81.00 80.00/80.67 และ 81.67/80.00 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ผู้รับการฝืกอบรมที่เรียนจากชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าในการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผูรับการฝึกอบรมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 |
URI: | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/453 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Theses |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License