กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/459
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธโสธร ตู้ทองคำ | th_TH |
dc.contributor.author | พัชรนันท์ ลาวัณย์รัตนกุล, 2515- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T02:19:27Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T02:19:27Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/459 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) โครงสรัางกระบวนการ ขั้นตอน รูปแบบวิธีการและลักษณะในการนำนโยบายการแกัใขปัญหาแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก (2) ปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนและปัจจัยที่เป็นปัญหา อุปสรรคของการนำนโยบายแก้ปัญหาแรงงาน ต่างด้าวผิดกฎหมายไปปฎิบัติในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ผลการศึกษา พบว่า (1 ) การนำนโยบายการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายไปปฏิบัติในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีโครงสรัางการทำงานร่วมกันของหน่วยงานแบบโครงสร้างหน้าที่ภายใต้ยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ที่คณะอนุกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าฟ้อง (ก.บ.ร.) กำหนด ด้านกระบวนการนำนโยบายไม่ปฎินัติ นั้นหน่วยงานรัฐจะมีการประชุมวางแผนขั้นตอนการทำงานโดยมีการประชุมปีละครั้ง ปฎิสัมพันธ์หรือการสื่อสารระหว่างหน่วยงานเป็นแนวราบและระบบราชการ รูปแบบ การนำนโยบายไปปฎิบัติของคณะอนุกรรมการพิจารณาการทำงานจังหวัดตากเป็นแบบจุลภาค ไม่มีงบประมาณและไม่มีอำนาจการตัดสนใจ วิธีการนำนโยบายไปปฎิบัติของหน่วยงานรัฐจะมีลักษณะต่างคนต่างทำ งบประมาณและทรัพยากรด้านการบริหารต่าง ๆ จะได้รับจากกระทรวงต้นสังกัดโดยตรง และมีการรายงานผลหรือปัญหาต่าง ๆ ไปยังกระทรวงต้นสังกัด และต่อที่ประชุม กบร. ที่กระทรวงแรงงานดังนั้น ลักษณะการนำนโยบายไปปฎิบัติ จึงรูปแบบเป็นอำนาจรวมศูนย์ที่ส่วนกลาง (2) ปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนได้แก่ปัจจัยด้านการบริหารองค์การ ส่วนปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรค ได้แก่ ขั้นตอนการทำงาน ของเจ้าหนัาที่รัฐที่ขาดการกรุณาการการทำงานร่วมกัน ปัญหาความขัดแย้งของนโยบายสาธารณะ รวมถึงอุปสรรคด้านภูมีประเทศของอำเภอแม่สอดทำให้มีปัญหาด้านความเป็นไปใด้ในการนำนโยบายไปปฎิบัติ และการขาดการส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฎิบัติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | นโยบายแรงงาน -- ไทย -- ตาก | th_TH |
dc.subject | แรงงานต่างด้าว | th_TH |
dc.title | การนำนโยบายแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | Implementation of policies to solve the problem of illegal immigrant workers : a case study of Mae Sot District, Tak Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the structure, process, steps, form, methods and other characteristics of the implementation of policies to solve the problem of illegal immigrant workers in Mae Sot District, Tak Province; and (2) supporting and detracting factors that affected the implementation of these policies. This was a qualitative research based on data from document research and interviews. The data were analyzed descriptively. The sample population consisted of 24 people from 4 groups: government officials involved with implementing the policies; business people and farmers; academics, members of the press and representatives of non-govemment organizations; and local and national-level politicians. The results showed that (1) in implementation of policies to solve the problem of illegal immigrant workers in Mae Sot District, Tak Province, there was a joint structure-function work structure of several agencies working together under the seven strategies set by the subcommittee to manage illegal immigrant workers. For the implementation process, the government agencies held a meeting once a year to plan the working procedures, rhe interaction or communication between the agencies was horizontal and bureaucratic. The policy implementation by the Tak Province Subcommittee on Work Considerations was on a micro level with no budget and no decision-making power. The different government agencies implemented the policies independently of each other. They each received a separate budget and resources allocation from their respective ministries and reported their problems and progress to their respective ministries as well as to the Ministry of Labor subcommittee. Thus, the policy implementation was in centralized form. (2) The supporting factor was organizational management. The detracting factors were lack of unity in the working procedures of government officials, conflicts with other public policies in the area, obstacles caused by the geography of the area that made enforcement difficult in practice, and lack of participation by the people involved in policy implementation. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Pol-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
108606.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.4 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License