Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5266
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ โภคาชัยพัฒน์, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-02T14:35:26Z-
dc.date.available2023-04-02T14:35:26Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5266en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการปฏิบติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 (2) เปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ที่มีขนาดต่างกันและครูที่มีเพศต่างกัน และ (3) เสนอแนวทางการส่งเสริมการปฏิป่ติตามมาตร ฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต1ปีการศึกษา 2560 จำนวน 327 คน ซึ่งได้มาจากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่ และมอร์แกน และได้กลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูใน สถานศึกษา ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.94 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณา รายด้าน พบว่า ทุกด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด มีเพียงด้านจรรยาบรรณต่อตนเองด้านเดียวที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูเพศชายและครูเพศ หญิงมีการปฏิบัติไม่แตกต่างกัน และการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษาตามขนาดของ โรงเรียนโดยภาพรวมและรายด้านมีการปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ข้อเสนอ แนวทางการส่งเสริมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ได้แก่ ควรมีการพัฒนาครูด้านการสอนและการปฏิบัติงาน การอบรมให้ความรู้เรื่องโครงการและแหล่งเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการพัฒนานักเรียนอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง ส่งเสริมให้ครูมีความสามัคคี และจัดครูเข้าร่วมกิจกรรมกับวัด ชุมชน องค์กรส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครู--จรรยาบรรณ.--ไทย--สมุทรปราการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1th_TH
dc.title.alternativeConduct based on teacher’s standard practice of teachers in Schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the conduct based on teacher’s standard practice of teachers in schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 1; (2) to compare levels of the conduct based on teacher’s standard practice of teachers in schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 1 as classified by school size and gender; and (3) to offer guidelines for promotion of the conduct based on teacher’s standard practice of teachers in schools under the Office. The research sample consisted of 327 randomly selected teachers from basic education schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 1 in the academic year 2017. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The instrument used was a rating scale survey questionnaire on the conduct based on teacher’s standard practice of teachers in school, with reliability coefficient of 0.94. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test. Research findings showed that (1) the overall conduct based on teacher’s standard practice of teachers in schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 1 was rated at the highest level; when specific aspects of the conduct were considered, almost all aspects were rated at the highest level, excepting the aspect of the code of ethics toward oneself which was rated at the high level; (2) the results of comparison showed that male and female teachers did not differ significantly in their levels of conduct based on teacher’s standard practice; however, teachers in schools of different sizes differed significantly in both their overall and by-aspect levels of conduct at the .05 level of statistical significance; and (3) the suggestions on guidelines for promotion of the conduct based on teacher’s standard practice of teachers in schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 1 were the following: the teachers should be developed on teaching methods and work performance; they should be trained to equip them with knowledge on project work and learning sources; they should be encouraged to see the importance of seriously development of the students on a continuous basis; they should be encouraged to be united; and they should be assigned to participate in activities organized by the wats, community, and local organizations.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159131.pdf15.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons