Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5325
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ชัยสอน, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T08:08:37Z-
dc.date.available2023-04-03T08:08:37Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5325-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาพฤติกรรมการสอนโดยใช้สื่อ DLIT ของครูในสถานศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและพฤติกรรมการสอนโดยใช้ลื่อ DLII ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำนวน 148 คน ได้มาจากการลุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา และพฤติกรรมการสอนโดยใช้สื่อ DLIT ของครูมีค่าความเที่ยง 0.919 และ 0.916 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับคือ ด้านการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนการสอน ด้านการนิเทศการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ และด้านการสร้างแรงจูงใจให้ครู 2) พฤติกรรมการสอนโดยใช้สื่อ DLIT ของครู โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับคือ การสอนโดยการใช้ห้องเรียน DLIT การสอนโดยการใช้ห้องสมุดดิจิทัล การสอนโดยการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ การสอนโดยการใช้คลังข้อสอบ และการสอนโดยการใช้คลังข้อสอบและการสอน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและพฤติกรรมการสอนโดยใช้สื่อ DLIT ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษา--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและพฤติกรรมการสอนโดยใช้สื่อ DLIT ของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between instructional leadership of school administrators and instructional behavior of using distance learning information technology of teachers in schools under Pathum Thani Primary Education Service Area Office 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study instructional leadership of school administrators; (2) to study instructional behavior of using distance learning information technology of teachers in schools; and (3) to study the relationship between instructional leadership of school administrators and instructional behavior of using distance learning information technology of teachers in schools under Pathum Thani Primary Education Service Area Office 1. The research sample consisted of 148 teachers in schools under Pathum Thani Primary Education Service Area Office 1, all of whom were obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire dealing with teacher’s opinions about instructional leadership of school administrators and instructional behavior of using distance learning information technology of teachers, with reliability coefficients of 0.919 and 0.916, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product moment correlation. The research findings were as follows: (1) the overall and by-aspect levels of instructional leadership of school administrators, as perceived by teachers, were at the high level, and specific aspects could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the creation of facilitating atmosphere for instruction, the supervision of instructional management, the development of academic quality, and the creation of teachers’ motivation, respectively; (2) the overall and by-aspect levels of instructional behavior of using distance learning information technology of teachers were at the high level, and specific aspects could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the instruction with the use of DLIT classroom, the instruction with the use of digital library, the instruction with the development of professional learning community, the instruction with the use of item banks, and the instruction with the use of instructional media banks; and (3) the relationship between instructional leadership of school administrators and instructional behavior of using distance learning information technology of teachers in schools under Pathum Thani Primary Education Service Area Office 1 was positive and high, which was significant at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161420.pdf19.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons