Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/532
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมพงษ์ แตงตาด, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กะนุรัตน์ บัวพงษ์ชน, 2516- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T10:05:02Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T10:05:02Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/532 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (2)ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษาจากการเรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายผู้วิจัยได้พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี เรื่องสามัญทัศน์ของโปรแกรมภาษาซี จํานวน 3 หัวข้อเรื่อง ประกอบด้วย (1)ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรมภาษาซีและการใช้งานโปรแกรมภาษาซี (2) การเขียนโครงสร้างและองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี (3) การเขียนโปรแกรมภาษาซีด้วยคําสั่ง printf(); คําสั่ง scanf(); พร้อมทั้งสร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน ซึ่งได้ผ่านการทดสอบและการพัฒนาจนมีความยากง่าย ค่าอํานาจจําแนก และค่าความเที่ยง ตามเกณฑ์ หลังจากนั้นได้นําชุดการเรียนไปทดลองใช้แบบเดี่ยวจํานวน 3 คน ทดลองแบบกลุ่ม จํานวน 10 คน และได้นําไปทดลองภาคสนาม จํานวน 30 คน กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจโรงเรียนศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ ผู้วิจัยได้นําข้อมูลจากการวิจัยมาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนโดยใช้สถิติ E1/E2 t-test ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า (1)ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักศึกษามีความก้าวหน้าทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอยู่ในระดับเหมาะสมมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.206 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี เรื่องสามัญทัศน์ของโปรแกรมภาษาซี สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title.alternative | A computer-based learning package via network in c programming language on basics of c programming language for students in vocational diploma education programme in business computer of Srivikorn business school | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.206 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to develop a computer-based learning package via network to meet the standard criterion; (2) to study the learning progress of students learning from the computer-based learning package via network; and (3) to study students’opinions on the computerbased learning package via network. The researcher developed a computer-based learning package via network on the topic of Basics of C Programming Language in the course : C Programming Language. The learning package covered three sub-topics : (1) General Knowledge of C Programming Language, (2) C Structure and Components Writing, and (3) Writing C Programme Language with the Commands : printf ( ), and scanf ( ). The researcher also constructed two parallel forms of an achievement test for pretesting and posttesting which had undergone the tryout and revision until they achieved appropriate difficulty, discriminant, and reliability indices. After that the developed learning package was single-subject tried out of three subjects, small group tried out of 10 subjects, and field experimented of 30 subjects with in Vocational Diploma Education Programme in Business Computer of Srivikorn Business School. Data were statistically analyzed to determine the efficiency of the instructional learning package by means of E1/E2, t-test, arithmetic means (X) and standard deviation (S.D.) Research findings revealed that (1) the developed computer-based learning package via network met the set 80/80 standard criterion for efficiency; (2) students achieved significant learning progress at the .50 level; and (3) students had opinions that the developed learning package was highly appropriate | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License