Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอังคณา เมตุลา, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T11:09:46Z-
dc.date.available2022-08-11T11:09:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/543-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อ (1) การรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน (2) การรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนที่อยู่ในสถานการณ์ทางสังคมที่มีความพร้อมต่างกัน (3) การรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนที่มีความพร้อมทางจิตต่างกัน และ (4) การรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนที่มีลักษณะชีวสังคมต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสหราษฎรรังสฤษดิ์ ปีการศึกษา 2545 จํานวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มอย่างง่ายและจัดนักเรียนเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการสุ่มเป็นรายบุคคลได้จํานวนนักเรียน กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการจํานวน 10 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการฝึกด้วยกิจกรรมอื่น จํานวน 10 ครั้งเช่นกัน เครื่องมือที่ใช้มี 8 ชุด มีค่าความเที่ยงอยู่ระหว่าง .81 ถึง .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการมีการรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการ (2) นักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ดีมากกว่า มีการรู้จักตนเองสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ดีน้อยกว่า (3) การฝึกมีผลให้นักเรียนที่มีความเชื่ออํานาจในตนตํ่า มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการฝึก และ (4) นักเรียนจากครอบครัวรายได้สูงที่ได้รับการฝึก มีการเห็นคุณค่าในตนเอง สูงกว่านักเรียนจากครอบครัวรายได้ตํ่าที่ไม่ได้รับการฝึกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.subjectกิจกรรมของนักเรียนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อการรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนสหราษฏร์รังสฤษดิ์ จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeThe effects of the integrated guidance activity packages on self-awareness and self-esteem of Mathayom Suksa II students of Saharajrangsarid school in Nakhon Phanom province in the 2002 academic yearth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe four purposes of this research were to study the effects of the integrated guidance activity packages on (1) self-awareness and self-esteem of students; (2) self-awareness and self-esteem of students with different readiness levels of social situation; (3) self-awareness and self-esteem of students with different readiness levels of psychological characteristics; and (4) self-awareness and self-esteem of students with different bio-social status. The research sample consisted of 40 randomly selected Mathayom Suksa II students of Saharajrangsarid School in the 2002 academic year. They were randomly assigned to an experimental group and a control group each of which comprising 20 students. The experimental group was trained with the integrated guidance activity packages for 10 periods while the control group was trained with other activities also for 10 periods. Eight sets of data collection instruments were employed. The alpha coefficient reliabilities of the instruments ranged from .81 to .95. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, t-test and ANOVA. Research findings revealed that (1) students trained with the integrated guidance activity packages had higher self-awareness and higher self-esteem than those who were not trained with the packages; (2) students from better child rearing families had higher selfawareness than those from poorer child rearing families; (3) students with low internal locus of control who were trained with the packages had higher self-esteem than students who were not trained with the packages; and (4) students from families with high income who were trained with the packages had higher self-esteem than those from families with low income who did not receive such trainingen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82114.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons