กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/544
ชื่อเรื่อง: | หลักธรรมะในพระไตรปิฎกกับหลักการและรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | The dhamma doctrine in the tripitaka buddhist cannon and democratic principles and governmental forms |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | รสสิน สิริยะพันธุ์ พระอธิการพีรัชเดช มหามนตรี, 2495- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา รุ่งพงษ์ ชัยนาม |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ ศาสนากับการเมือง พุทธศาสนากับการเมือง |
วันที่เผยแพร่: | 2552 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อศึกษา หลักธรรมะในพระไตรปิฎกที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับหลักการและรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย ผลการวิจัยพบว่าหลักธรรมะในพระไตรปิฎกมีความสัมพันธ์สอดคล้องกันหลักการและรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในแง่ของหลักการ หลักธรรมะสอดคล้องกับ หลักการสำคัญของประชาธิปไตย 4 ประการ คือ หลักอำนาจอธิปไตยของปวงชน หลักเสรีภาพหลักความเสมอภาค หลักภราดรภาพ ส่วนความสอดคล้องในแง่ของรูปแบบนั้น แม้หลักธรรมในพระไตรปิฎกจะไม่มีการชี้ซัดว่าการปกครองรูปแบบใดดีที่สุด แต่หลักธรรมะในพระไตรปิฎกมีส่วนที่คล้ายคลึงกับรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยทั้งในส่วนขอารูปแบบการควบหรือรวมอำนาจ คือ ระบบรัฐสภา และรูปแบบการแยกอำนาจ คือ ระบบประธานาธิบดี และหลักธรรมะในพระไตรปิฎกเน้นหลักธรรมาธิปไตย ซึ่งเป็นหลักการสำคัญของรูปแนบการปกครองระบอบประชาธิปไตย |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 |
URI: | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/544 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Pol-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
118851.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.24 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License