Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/551
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤมล ตันธสุรเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ชลทิตย์ เอี่ยมสําอางค์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วีรวรรณ ถีถะแก้ว, 2494- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T02:31:32Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T02:31:32Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/551 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครู การศึกษานอกระบบ ผู้นําชุมชน เจ้าหน้าที่สํานักงานพัฒนาชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีต่อการนํา ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบ 2)นําเสนอแนวทางในการนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบ กลุ่มตัวอย่างได้จากการกําหนดขนาดตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน จํานวน 291คน จากประชากร 377 คน จากนั้นทําการสุ่มตามชั้นครั้งเดียวจากจํานวนประชากรทั้ง 5 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ทําการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าสถิติร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า F การวิจัยครั้งนี้ปรากฏผลว่าผู้บริหารและครูการศึกษานอกระบบ ผู้นําชุมชน เจ้าหน้าที่สํานักงานพัฒนาชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความเห็นว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรนํามาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบคือผู้นําชุมชน ทั้งนี้เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายโดยการเป็นวิทยากรในการฝึกอบรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง หรือจากประสบการณ์โดยตรงของภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดประชุมหรืออบรม ให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการเลือกกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่ม เป้าหมายมาใช้ในการศึกษาได้อย่างเหมาะสม สําหรับการเปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีตําแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกัน โดยรวมและรายด้านทุกด้านมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความคิดเห็นแตกต่างจากกลุ่มตัวอย่างที่มีตําแหน่งหน้าที่การงานอื่น ๆ ทุกตําแหน่ง ส่วนแนวทางในการนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบด้านต่าง ๆ คือด้านการศึกษาพื้นฐาน ควรนํามาช่วยในการสรรหาผู้สอน อาสาสมัครวิทยากร ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ และนําองค์ความร้ที่มีอยู่ในชุมชนมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ควรนํามาช่วยในการฝึกทักษะอาชีพโดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยตรงเพื่อให้ได้ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ควรนํามาใช้ให้ความรู้ในด้านสุขภาพอนามัย และถ่ายทอดความรู้คติเตือนใจเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต และด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนควรนํามาใช้ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ การลงทุน รวมผลิต ร่วมขายโดยการจัดเวทีชาวบ้านหรือจัดทําโครงงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.91 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาชาวบ้าน--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษานอกระบบโรงเรียน--ไทย--นนทบุรี | th_TH |
dc.title | แนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบ จังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for using local wisdoms for organizing non-formal education in Nonthaburi province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.91 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License