กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5529
ชื่อเรื่อง: | บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาบ้านเหลื่อม 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Computer-assisted instruction program in the science and technology learning area on the topic of the earth phenomena and space technology for Prathom Suksa VI students in Ban Lueam 1 educational quality development network center under Nakhon Ratchasima Privary Education Service Area Office 6 |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์ กุลธิดา ดุจติปิยะ, 2537- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน เทคโนโลยี--การศึกษาและการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา |
วันที่เผยแพร่: | 2562 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของผู้ใช้บริการในการใช้สื่อของห้องสมุดประชาชนอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้ใช้บริการในการใช้สื่อของห้องสมุดประชาชน อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 420 คน ที่เข้ามาใช้บริการห้องสมุดประชาชนในระหว่างเดือน กรกฎาคม- สิงหาคม 2562 ได้มาโดยการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัญหา และความต้องการของผู้ใช้บริการในการใช้สื่อของห้องสมุดประชาชนอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สถิติที่ใช้ไนการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่าประชาชนผู้ใช้บริการห้องสมุดประชาชนอำเภอสันทรายมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา และความต้องการของผู้ใช้บริการห้องสมุดประชาชนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านความต้องการใช้สื่อของห้องสมุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า (1) สภาพการใช้สื่อในห้องสมุดประชาชนโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ บุคลากร (บรรณารักษ์) ส่วนด้านที่เหลืออยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัญหาการใช้สื่อในห้องสมุดประชาชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การบริการสื่อสารสนเทศ ส่วนด้านที่เหลืออยู่ในระดับน้อย และ (3) ความต้องการใช้สื่อในห้องสมุดประชาชนโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ความต้องการการบริการสื่อสารสนเทศ |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5529 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
161606.pdf | 9.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License