Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติภณ พงศ์พิทยา, 2502- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T03:20:38Z-
dc.date.available2023-05-08T03:20:38Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5853-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ความเป็นมา และวิเคราะห์ ปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวกับการสอบสวนคดีอาญา โดยพนักงานสอบสวนที่เป็นตำรวจในการดำเนินคดีอาญาชั้นก่อนฟ้อง เปรียบเทียบกับการสอบสวนคดีอาญากับของต่างประเทศ เพื่อนำผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477 ให้มีมาตรฐานในระดับสากล อย่างนานาอารยประเทศ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีพิจารณาทางเอกสาร โดยศึกษาค้นคว้าจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คำพิพากษาศาลฎีกา ระเบียบ คำสั่งที่เกี่ยวข้อง วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความ ตำรา หนังสือต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลทางสื่ออีเล็กโทรนิกส์ นำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ผลงานวิจัย ผลการศึกษาพบว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย พนักงานอัยการ ไม่มีอำนาจเข้าร่วมสอบสวนคดีอาญาตั้งแต่เริ่มต้น คดีจึงไม่มีอำนาจในการกำหนดทิศทาง หรือวางรูปคดี หรือสัมผัสกับพยานหลักฐานในชั้นสอบสวนเลย แม้ในปัจจุบันได้มีการแก้ไขกฎหมาย ให้พนักงานอัยการเข้าร่วมสอบสวนคดีอาญา ในคดีเกี่ยวกับความผิดของเด็ก คดีชันสูตรพลิกศพ คดีความผิดที่เกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร และคดีความผิดเกี่ยวกับคดีพิเศษ ตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 แต่ยังเป็นส่วนน้อย ควรมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ให้พนักงานอัยการเข้ามีส่วนร่วม และควบคุมการสอบสวนคดีอาญาทั้งปวง เพื่อให้การสอบสวนคดีอาญาและ การฟ้องคดีเป็นอำนาจเดียวกัน ประเทศที่เป็นต้นแบบแนวคิดเรื่องการสอบสวนและการฟ้องร้องคดี เป็นอำนาจเดียวกันแบ่งแยกไม่ได้ คือ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศญี่ปุ่น ผู้วิจัยเห็นว่าประเทศไทย ควรมีการแก้ไขกฎหมาย ให้การสอบสวนและการฟ้องคดี เป็นอำนาจเดียวกันเช่นเดียวกับของประเทศญี่ปุ่น โดยให้พนักงานอัยการเข้าไปมีส่วนร่วม และควบคุมการสอบสวนคดีอาญา ทั้งปวง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาแก่ประชาชน และให้การสอบสวนเป็นไปตามมาตรฐานในระดับสากลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอำนาจพิจารณาคดีอาญาth_TH
dc.subjectการสอบสวนคดีอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleอำนาจสอบสวนคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeCriminal investigation authorityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeIndependent study aims to understand criminal investigation authority in Thailand. The study is needed, the purpose of this research is to investigate and critic problems which mostly relate to police investigation officers by comparing between differences systems in Thailand and other countries. This resulted in seeing weaknesses and advantages so that the Criminal Procedure Code Act B.E. 2477 must be amended and improved to harmonize with in international standard. This research is a qualitative research by studying the Criminal Procedure Code of Judgment of the Supreme Court that related to orders command by studying thesis, articles, journals, and books as well as resources from the internet. According to the research, it shows that Criminal Procedure Code in Thailand, Attorney has limited power and cannot join the investigation team from the beginning of the investigate; therefore, they cannot fully judge fairly in most cases. Although today some points had been amended, the attorney still has limited authority. For instance, Child's crime, Autopsy, Offence committed outside the Kingdom, and Criminal Offence Litigation under the Special Investigation Act B.E. 2547. However, it still only some minority that is affected. Consequently, it is recommended that the investigation system should be amended and allow the attorney can prosecute every case of the investigation. The prototype countries, the concept of inquiry and lawsuits are the same, indivisible such as France and Japan. It has been stated that Thailand should change or amended the procedure by inviting the attorney to work with police officers on the investigation. This resulted in balance between political perspective and public perspective which will accordance with international standarden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156073.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons