Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ อัศวโรจน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติพล บุตโคต, 2531- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-09T07:12:36Z-
dc.date.available2023-05-09T07:12:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5898-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็นมาและแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับ หลักการว่าด้วยเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะศึกษาหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุม สาธารณะตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 เปรียบเทียบกบกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ ของต่างประเทศศึกษาถึงปัญหาและผลกระทบในการบังคับใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ต่อสิทธิเสรีภาพในการชุมนุม เพื่อเสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาจากเอกสาร หนังสือ บทความ ทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งของไทยและของต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า เดิมนั้นประเทศไทยไม่มีกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ พนักงาน เจ้าหน้าที่จึงต้องนําบทบัญญัติในกฎหมายต่าง ๆ มาบังคับใช้กับการชุมนุมสาธารณะที่เกิดขึ้น แต่การนํากฎหมาย ต่าง ๆ มาบังคับใช้พนักงานเจ้าหน้าที่มิได้คํานึงถึงเสรีภาพในการชุมนุมซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ มุ่งแต่จะให้ผู้ชุมนุมยุติการชุมนุมเท่านั้น จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 มีวัตถุประสงค์เพื่อ กำหนดหลักเกณฑ์การใช้สิทธิชุมนุมสาธารณะให้ชัดเจนและสอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง แต่บทบัญญัติตามกฎหมายนี้อาจก่อให้เกิดปัญหาในการนําไปบังคับใช้ได้ เนื่องจากมีบทนิยามที่ให้ความหมายของผู้จัดการชุมนุมที่มิได้คํานึงถึงข้อเท็จจริงว่าจะต้องจัดการชุมนุมโดย แท้จริง การกำหนดข้อห้ามชุมนุมในบางสถานที่อันทําให้ไม่อาจสะท้อนปัญหาของผู้ชุมนุมให้แก่หน่วยงานของรัฐที่เป็นตัวแทนของประชาชนในการแก้ไขปัญหาได้ และมิได้วางหลักเกณฑ์การเดินขบวนสาธารณะไว้อย่างชัดแจ้ง ซึ่งอาจเกิดปัญหาในการบังคับใช้ได้ เห็นสมควรบัญญัติแก้ไขเพิ่ มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุม สาธารณะเพื่อให้มีหลักเกณฑ์ที่มีความชัดเจนลดปัญหาในการบังคับใช้ เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เสรีภาพในการ ชุมนุมอยางแท้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิทธิการชุมนุมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleกฎหมายการชุมนุมสาธารณะ : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับสหราชอาณาจักร สาธารณรัฐเกาหลีและเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนth_TH
dc.title.alternativePublic order act : a comparative study between the laws of Thailand, United Kingdom, Republic of Korea and Hong Kong Special Administrative Region of the People’s Republic of Chinaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were study background and conceptual theory about the principle of freedom of public assembly, study criterions and conditions of the exercise of the freedom of public assembly according to The Public Assembly Act BE 2558 compared with the public assembly law of foreign countries, and study issues and impacts in enforcement of The Public Assembly Act BE 2558 on the right to freedom of assembly for propose guidelines to amendment The Public Assembly Act BE 2558. This Independent study is a qualitative research by studying from documents, books, articles, theses, publications, and other media related, both of Thailand and foreign countries. The findings indicated that previously, Thailand has no law on public assembly. The competent official had to apply provisions in various laws to enforce public assembly, nevertheless, in the enforcement with various laws the Competent Official regardless of right of freedom of assembly which prescribed by constitution and merely intended to stop assembly. Therefore, The Public Assembly Act BE 2558 has enacted to define the extent for exercising public assembly and consistent application of relevant legislation with the International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR). However, The provisions may pose issues in enforcement due to the definition of the assembly manager regardless of the fact that who handle assembly forsooth, establishing a prohibition of assembly in some place that cannot resolve the issue of demonstrators to government representative of citizens and does not prescribe criteria about public march explicitly. This may result in enforcement. Consequently, The Act must be amened for decreasing the problem for enforcement and supporting truly freedom in assemblyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_157083.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons