Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญเลิศ ส่องสว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนฤมล ตันธสุรเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตพิสุทธิ์ สกุลพอ, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T07:23:07Z-
dc.date.available2022-08-13T07:23:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/592-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ติดตามผลการจัดการศึกษาวิชาชีพระยะสั้นวิชาคอมพิวเตอร์ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานีเกี่ยวกับ ด้านหลักสูตร ด้านฺสื่อและอุปกรณ์ ด้านรูปแบบการเรียนการสอน ด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก และ (2) ศึกษาการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจัาวันของผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพระยะสั้นวิชาคอมพิวเตอร์ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานี กลุ่มประชากร ได้แก่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนและจบการศึกษาวิชาชีพระยะสั้น คอมพิวเตอร์ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานี จำนวน 219 คน เครื่องมึอที่ใช้เป็นแบบสอบถามประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การติดตามผลการจัดการศึกษาวิชาชีพระยะสั้นวิชาคอมพิวเตอร์ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานึนั้นพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่สนใจที่จะเรียนระหว่าง วันจันทร์-วันศุกร์ช่วงเวลา 9.00-12.00 น. มากที่สุด ส่วนด้านหลักสูตรที่ผู้สำเร็จการศึกษาได้ร้บความรู้ ชึ่งเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ หลักสูตรไมโครชอฟท์วินโดว์อยู่ในระดับมาก หลักสูตรไมโครชอฟท์เวิร์ด หลักสูตรไมโครซอฟท์เอกเชล และหลักสูตรไมโครซอฟท์เพาว์เวอร์พอยท์ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านสื่อและอุปกรณ์มีเพียงพอกับผู้เรียนอยู่ในระดับปานกลาง ด้านรูปแบบการเรียนการสอน เรียงลำดับได้ดังนี้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นคว้าเพิ่มเติม เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในการปฏิบัติกิจกรรม และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ด้านการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน หลักสูตรไมโครซอฟท์วินโดว์ได้แก่ การดูหนังฟังเพลงอยู่ในระดับมาก หลักสูตรไมโครซอฟท์เวิร์ด ได้แก่ การพิมพ์รายงานอยู่ในระดับมาก หลักสูตรไมโครซอฟท์เอกเซล ได้แก่ การสร้างตารางอยู่ในระดับมาก และหลักสูตรไมโครซอฟท์เพาว์เวอร์พ้อยท์ได้แก่ การสร้างภาพเคลื่อนไหวอยู่ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.198-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียน--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาทางวิชาชีพ--การประเมินth_TH
dc.titleการติดตามผลการจัดการศึกษาวิชาชีพระยะสั้นวิชาคอมพิวเตอร์ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeA follow-up study of provision of the Short vocational training course on computers of Pathum Thani Non-fomal Educational Centerth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.198-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) follow-up study of provision of the Short Vocational Training Course on Computers of Pathum Thani Non-formal Education Center on the following aspects: curriculum, instructional media and aids, instructional pattern, and buildings and facilities; and (2) study the application of obtained knowledge in daily living of graduates from the Short Course. The research population consisted of 219 students who registered for and graduated from the Short Vocational Training Course on Computers offered by Pathum Thani Non-formal Education Center. The instrument for data collection was a rating scale questionnaire developed by the researcher. Statistical procedures for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings were as follows: On follow-up of provision of the Course, the majority of students were most interested in taking the class on Monday to Friday and during 9.00 - 12.00 a.m. As for curriculum, graduates rated topics based on the amount of knowledge they had received as follows: Microsoft Window at the high level; Microsoft Word, Microsoft Excel, and Microsoft Power Point at the moderate level. Sufficiency of instructional media and aids was rated at the moderate level. As for instructional pattern, the following instructional activities were rated at the high level: encouragement of students to search for additional knowledge by their own, student-centered learning activities, and encouragement of students to give opinions. The appropriateness of buildings and facilities was rated at the high level. As for application of knowledge เท daily living, application of Microsoft Window for entertainment, that of Microsoft Word for report printing, and that of Microsoft Excel for creating tables were rated at the high level; while that of Microsoft Power Point for animation was rated at the moderate levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82890.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons