Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/610
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรีชา วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สมร ทองดี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พันธนีย์ วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปราณี เดชบุญ, 2503- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา. | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T08:42:20Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T08:42:20Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/610 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความรับผิดชอบด้านการเรียนของ นักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (2) เปรียบเทียบความรับผิดชอบด้านการเรียน ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม และ (3) เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อ ชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปืที่ 2 โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2546 จำนวน 30คน แล้วสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดกิจกรรมโดยการบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ชุดกิจกรรมแนะแนวพัฒนาความรับผิดชอบด้านการเรียน 12 กิจกรรม แบบทดสอบและแบบ บันทึกการสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบด้านการเรียน และแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ ชุดกิจกรรมแนะแนว ระยะเวลาที่ใช้ในการทคลอง กลุ่มละ 2ครั้ง ครั้งละ 50 นาที โดยมี แบบแผนการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วัดก่อน และ หลัง การทดลอง สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนมีความรู้และพฤติกรรมความรับผิดชอบด้านการเรียนสูง ขึ้นหลังจากได้รับการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวพัฒนาความรับผิดชอบด้านการเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่ได้รับการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีความรู้และพฤติกรรม ความรับผิดชอบต้านการเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อยู่ในระดับ มากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--เครื่องมือ | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมของนักเรียน | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่มีต่อความรับผิดชอบด้านการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of guidance activities package on learning responsibility of Mathayom Suksa II students of Bunluawittayanusorn School in Nakhon Ratchasima province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (I) compare learning responsibility of students before and after being taught by using the guidance activities package; (2) compare learning responsibility of the experimental group and the control group; and (3) survey the students' opinions toward the guidance activities package. The sample of this study consisted of 30 Mathayom Suksa II students in the academic year 2003 at Bunluawittayanusorn School consisting of randomly assigned fifteen students in the experimental group and fifteen students in the control group. The experimental group was taught by using the guidance activities package and the control group was taught by using the conventional approach. The research instruments were a learning responsibility test, the guidance activities package, a behavior observation form and a questionnaire to assess students' opinions toward the guidance activities package. The experiment took twelve periods each of which lasted 50 minutes. The research design was the Pretest - Posttest Design. The statistical procedures for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings of the study indicated that: (I) the learning responsibility scores and responsibility behaviors of students after being taught by using the guidance activities package were significantly higher than those before being taught by using the guidance activities package at the .05 level; (2) the learning responsibility scores and responsibility behavior of students taught by using the guidance activities package were significantly higher than those of students taught by using the conventional approach at the .05 level; and (3) the students' opllllOns toward the guidance activities package was at the very high level | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License