Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศศิธร บัวทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจำเรียง ตันหยง, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-24T06:46:27Z-
dc.date.available2023-05-24T06:46:27Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6150-
dc.description.abstractการวิจัยนั้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบวัดทักษะการรู้เท่าทัน สื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำนวน 400 คน จาก 15 โรงเรียน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่พัฒนาในการวิจัย เป็นแบบวัดทักษะการรู้เท่าทัน สื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยหาความตรงเชิงเนื้อหา ความยาก อำนาจจำแนก ความตรงเชิงโครงสร้าง และความเที่ยง ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบวัดทักษะการรู้เท่าทัน สื่อของนัก เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยข้อสอบสถานการณ์ แบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ การเข้าถึงสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การประเมินสื่อ และการสร้างสรรค์สื่อ ด้านละ 10 ข้อ และ (2) แบบวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความตรงเชิงเนื้อหาโดยค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง .67 ถึง 1.00 ค่าความยากอยู่ระหว่าง .40 ถึง .69 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .24 ถึง .53 มีความตรงเชิงโครงสร้างโดยการทดสอบสถิติที่ พบว่า คะแนนเฉลี่ยระหว่างผ้เูรียนกลุ่มสูงกับกลุ่มต่ำแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และค่าความเที่ยงทั้งฉบับ เท่ากับ .87th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--ประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an instrument to assess media literacy of Prathom Suksa VI students in Prachuap Khiri Khan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to create an instrument to assess media literacy of Prathom Suksa VI students in Prachuap Khiri Khan Province; and (2) to verify quality of the created instrument to assess media literacy of Prathom Suksa VI students in Prachuap Khiri Khan Province. The research sample consisted of 400 Prathom Suksa VI students from 15 schools under Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area Office 1 during the first semester of the 2017 academic year, obtained by multi-stage sampling. The developed research instrument was an instrument to assess media literacy of Prathom Suksa VI students in Prachuap Khiri Khan Province. Quality of the instrument was verified by finding its content validity, difficulty index, discriminating index, construct validity, and reliability. Research findings revealed that (1) the created instrument to assess media literacy of Prathom Suksa VI students was in the form of a 4-choice situational test with 40 test items; it assessed four aspects of media literacy, namely, access to media, media analysis, media evaluation, and media creation; each aspect contained 10 test items; and (2) the content validity of the created instrument to assess media literacy of Prathom Suksa VI students was indicated by the IOC indices ranging from .67 to 1.00; its difficulty indices ranged from .40 to .69; its discriminating indices ranged from .24 to .53; its construct validity, as indicated by the t-test result, showed that the mean scores of learners in the high achieving group and the low achieving group were significantly different at the .01 level; and finally, the reliability coefficient for the whole test was .87.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156772.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons